Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6180
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณ์ดี แสงประทีปทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศศิธร บัวทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสายพิน ราชลำ, 2520--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-25T05:02:22Z-
dc.date.available2023-05-25T05:02:22Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6180-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างแบบวัดทกัษะชีวิตและอาชีพในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ในโรงเรียนสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 39 และ (2) ตรวจสอบคุณภาพแบบวัดทักษะชีวิตและอาชีพในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ในโรงเรียนสังกัด สำนักงานเขตพื้นทื่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 39 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ปี การศึกษา 2560 ในโรงเรียนสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 39 จำนวน 200 คน จาก 12 โรงเรียน ได้มา โดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่พัฒนาเป็นแบบวัด ทักษะชีวิต และอาชีพในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ตรวจสอบคุณภาพของแบบวีด โดยการหาความตรงเชิงเนื้อหา อำนาจจำแนก และความเที่ยง ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) แบบวัดทักษะชีวิตและอาชีพในศตวรรษที่ 21 ที่พัฒนาขึ้นจำนวน 1 ฉบับ เป็นแบบสังเกตแบบมีโครงสร้างชนิดมาตรประมาณค่า 4 ระดับ จำนวน 30 ข้อ รายการประเมินมีการให้คะแนนแบบรูบริค แบบวัดทักษะชีวิตและอาชีพ แบ่งเป็น 5 ด้าน คือ ความยืดหยุ่น และการปรับตัว ความคิดริเริ่มและการช้ีนาํ ตนเอง ทกั ษะดา้ นสังคมและการแลกเปลี่ยนข้ามวัฒนธรรม มีผลงานและความรับผิดชอบตรวจสอบได้ และภาวะผู่นำ และความรับผิดชอบ และ (2) แบบวัดทักษะชีวิตและอาชีพในศตวรรษที่ 21 มีความตรงเชิงเนื้อหา โดยดัชนีความสอดคล้องมีค่าระหว่าง .60 ถึง 1.00 อำนาจจำแนกโดยการทดสอบค่าที มีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีความเที่ยงของแบบวัด ด้านที่ 1 – 5 ดังนี้ .82, .80, .66, .78 และ .82 ตามลำดับ และความเที่ยงของแบบวัดทั้งฉบับ มีค่าเท่ากับ .89th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectทักษะชีวิตth_TH
dc.titleการพัฒนาแบบวัดทักษะชีวิตและอาชีพในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 39th_TH
dc.title.alternativeThe development of a test to measure life skills and career in the 21st Century of lower secondary students in schools under the Secondary Education Service Area Office 39th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การประเมินการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to construct a scale to measure life and career skills in the 21st Century of lower secondary students in schools under the Secondary Education Service Area Office 39; and (2) to verify quality of the developed scale to measure life and career skills in the 21st Century of lower secondary students in schools under the Secondary Education Service Area Office 39. The research sample consisted of 200 lower secondary students from 12 schools under the Secondary Education Service Area Office 39 during the 2017 academic year, obtained by multi-stage sampling. The developed research instrument was a scale to measure life and career skills in the 21st Century of lower secondary students. Quality verification of the developed scale was undertaken by finding its content validity, discriminating power, and reliability. Research findings revealed that (1) the developed scale to measure life and career skills in the 21st Century was a 5-scale structured observation form containing 30 items with scoring rubric for each item; the scale covered five aspects, namely, flexibility and self-adjustment, creative thinking and self-direction, social and cultural exchange skills, productivity and accountability, and leadership and responsibility; and (2) the developed scale to measure life and career skills in the 21st Century had content validity as shown by the IOC ranging from .60 – 1.00; its discriminating power was indicated by results of the t-test which was significant at the .01 level; reliability coefficients of the five aspects of the scale were .82, .80, .66, .78, and .62, respectively; and finally, reliability coefficient of the whole scale was .89.-
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_157863.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.36 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons