Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/630
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปรียา หิรัญประดิษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจิรัสสา คชาชีวะ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorประเมษฐ์ บุณยะชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนักรบ นาคสุวรรณ์, 2514--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-16T09:59:53Z-
dc.date.available2022-08-16T09:59:53Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/630-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ลักษณะความเชื่อและบทบาทของพระพิฆเนศที่มีต่อประชาชนและ 2) ศึกษารูปแบบพิธีกรรมและสัญลักษณ์ที่ใช้ในพิธีกรรมของประชาชนที่มีต่อพระพิฆเนศวิธีดำเนินการวิจัยประกอบด้วยการศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์และการสังเกตุ จากพราหมณ์และผู้รู้ 10 คน ผู้ที่มาสักการะพระพิฆเนศ ณ เทวสถาน 42 คน เจัาหน้าที่และ ผู้ประกอบการค้าบริเวณเทวสถาน 6 คน อธิบายผลการวิจัยในลักษณะการพรรณนาวิเคราะห์ผลการวิจัยพบว่า 1) ประชาชนมีความเชื่อว่าพระพิฆเนศเป็นเทพแห่งความสำเร็จมากที่สุด รองลงมาคือเทพแห่งศิลปะวิทยาและเป็นสิ่งศักดิสิทธิ์เครื่องรางของขลังตามสำดับ ความเชื่อดังกล่าวได้รับการบอกเล่าจากพราหมณ์ จากหนังสือ ได้ผลสำเร็จกับตนเองและจากคติความเชื่อเดิม บทบาทของพระพิฆเนศที่มีต่อประชาชนเรียงตามลำดับดังนี้คือ บทบาทในการประทานความสำเร็จอันจะส่งผลให้การดำเนินชีวิตของตนเองดีขึ้นและมีความมั่นใจในการใช้ชีวิต บทบาทของพระพิฆเนศในฐานะเทพบรมครูแห่งศิลปศาสตร์เพื่อให้เกิดความสำเร็จและเจริญรุ่งเรื่องในอาชีพ และบทบาทของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ประทานความปลอดภัยและโชคดีและ 2) รูปแบบพิธีกรรมของ ประชาชนที่มีต่อพระพิฆเนศ มีการไหว้แบบไหว้พระพุทธรูปในศาสนาพุทธมากที่สุด รองลงมาเป็นการผสมผสานกันระหว่างการไหวัพระในพุทธศาสนาและการไหวัเทพในศาสนาฮินดู สุดท้ายคือการไหว้เทพในศาสนาฮินดู ส่วนสัญลักษณ์ที่ใช้ในพิธีกรรม ประชาชนจะใช้เครื่องสังเวยบูชาตามที่แต่ละเทวสถานจัดบริการไว้ให้ ความหมายของเครื่องสังเวยบูชา ประชาชนจะให้ความหมายตามพราหมณ์และผู้รู้หรือหนังสือแต่บางส่วนกีไม่สามารถบอกความหมายได้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาไทยคดีศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพระพิฆเนศth_TH
dc.titleความเชื่อและพิธีกรรมของประชาชนที่มีต่อพระพิฆเนศ : กรณีศึกษาเทวสถานในกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeThe beliefs and rites of people towards the ganesha : a case study of hindu shrines in Bangkokth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were: 1) to study the beliefs and roles of the Ganesha towards people and: 2) to study the rites form and the symbols performed by the people towards the Ganesha. The research methods used in this study were documentary research. The field survey was based on interview and observation. Sample groups consisted of 10 Brahmans and Ganesha gurus, 42 Ganesha worshippers at the shrine, 6 officers and venders selling oblation at the shrine. Descriptive analysis was used. The results were as follow: 1) most people coming to worship the Ganesha at the shrine believed that Ganesha was the god of success the god of arts and the sacred item and amulet, respectively. The foundation of their belief was from Brahman’s hearsay, books, their own experiences and the old beliefs. The Ganesha’s primary roles in the worshipper’s lives were in order from more to be as follow: granting success to heip make the worshipper’s life better and to have more confidence in themselves. Secondly, Ganesha was considered the god of arts who could grant accomplishment and glory. Thirdly, he was considered the god of safety and good luck. 2) Rituals performed by Ganesha devotees were paying respect the as is done Buddha images in Buddhism, and a mixture of paying respect to Buddha images in Buddhism and to Hindu gods in Hinduism and paying respect to Hindu gods in Hinduism. Ritual symbols used were the same oblations and offerings as used in Hinduism’s rituals prepared by each shrine. People adopted the meaning of these offerings from Brahmans, Ganesha gurus, or books. However, some people could not explain the meaningen_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (1).pdfเอกสารฉบับเต็ม11.03 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons