Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6367
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุพักตร์ พิบูลย์th_TH
dc.contributor.authorวรพจน์ บำรุงเวช, 2500-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-13T02:39:55Z-
dc.date.available2023-06-13T02:39:55Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6367en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนามาตรฐานคุณภาพการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2 และ (2) ตรวจสอบคุณภาพของมาตรฐานการจัดการความรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2 กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยประกอบด้วย (1) ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 คน ที่มีความรู้ และประสบการณ์ในด้านการจัดการความรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นผู้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินงานการจัดการความรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน (2) ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 17 คน ที่มีบทบาทเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานการจัดการความรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่พิจารณาความเหมาะสมของมาตรฐาน คุณภาพการจัดการความรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยให้ข้อมูลจำนวน 2 รอบ และ (3) กลุ่มผู้บริหารของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีผลงานด้านการจัดการความรู้ระดับดี และระดับทั่วไป จำนวน 20 คน เป็นผู้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพการดำเนินงานจัดการความรู้ในสถานศึกษาในขั้นตรวจสอบคุณภาพของมาตรฐานที่ได้พัฒนาขึ้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามปลายเปิด แบบสอบถามประเภทมาตรประมาณค่าและแบบประเมินมาตรฐานคุณภาพการจัดการความรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการวิเคราะห์เนี้อหา ค่ามัธยฐาน ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าทีผลการวิจัย ปรากฎว่าได้มาตรฐานคุณภาพการจัดการความรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2 ประกอบด้วย 3 นิติคุณภาพ คือ (1) มิติปัจจัยนำเข้าจำแนกเป็น 4 องค์ประกอบ 18 ตัวบ่งชี้ (2) นิติกระบวนการ จำแนกเป็น 4 องค์ประกอบ 24 ตัวบ่งชี้และ (3) มิติผลผลิตและผลลัพธ์ จำแนกเป็น 2 องค์ประกอบ 18 ตัวบ่งชี้ ผลการตรวจสอบคุณภาพของมาตรฐานคุณภาพการจัดการความรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่พัฒนาขึ้น โดยนำไปใช้ประเมินสถานศึกษาที่มีผลงานดีกับทั่วไป พบว่ามีความตรงตามโครงสร้าง กล่าวคือ คะแนนผลการประเมินสถานศึกษากลุ่มระดับดีสูงกว่ากลุ่มทั่วไป อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.220en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการบริหารองค์ความรู้th_TH
dc.titleการพัฒนามาตรฐานคุณภาพการจัดการความรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2th_TH
dc.title.alternativeDevelopment of knowledge management quality standards for basic education schools under the office of Suphan Buri Educational Service Area 2en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) develop knowledge management quality standards for basic education schools under the Office of Suphan Buri Educational Service Area 2; and (2) verify quality of the developed knowledge management quality standards for basic education schools under the Office of Suphan Bun Educational Service Area 2. The research sample consisted of (1) the group of five experts who had knowledge and experience in knowledge management in basic education schools to provide the information on how to manage knowledge in basic education schools; (2) the group of 17 experts who had roles in the operation of knowledge management in basic education schools to consider the appropriateness of knowledge management quality standards by providing two rounds of opinions; and (3) the group of 20 school administrators with high and average performance levels in knowledge management of their schools to provide data on the operation conditions of knowledge management in their schools in the step of verifying quality of the developed quality standards. Research instruments were an open-ended questionnaire, a rating scale questionnaire, and an evaluation form for assessing the knowledge management quality standards in basic education schools. Data were analyzed by content analysis, the median, inter-quartile range, mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that the developed knowledge management quality standards for basic education schools under the Office of Suphan Buri Educational Service Area 2 comprised three quality dimensions: (1) the input dimension with four elements and 18 indicators; (2) the process dimension with four elements and 24 indicators; and (3) the output and outcome dimension with two elements and 18 indicators. Results of quality verification of the developed knowledge management quality standards for basic education schools indicated that the developed quality standards had construct validity as they could discriminate two known groups of basic education schools as revealed by the assessment scores for the high performance group of schools being significantly higher than the counterpart scores for the average performance group of schools at the .05 significance levelen_US
dc.contributor.coadvisorสมคิด พรมจุ้ยth_TH
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
119095.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.97 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons