Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/637
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกาญจนา วัธนสุนทร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorคมศร วงษ์รักษา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุพัตรา สุขสันต์, 2507--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-16T11:13:48Z-
dc.date.available2022-08-16T11:13:48Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/637-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวัดประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถประสงค์ เพื่อประเมินหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ระบบทวิภาคี สาขาวิชาช่างยนต์วิทยาลัยเทคนิคเชียงราย ในด้านการเตรียมความพร้อมในการใช้หลักสูตร ประเมินปัจจัยเบื้องต้นของหลักสูตรประเมินกระบวนการใช้หลักสูตร และประเมินผลผลิตของหลักสูตรประชากรที่ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 5 คน อาจารย์ผู้สอนในรายวิชาต่างๆจำนวน 21คน นักศึกษาชั้นปืที่2 ปีการศึกบา 2546 จำนวน48 คนผู้สำเร็จการศึกษาในปีการศึกบา 2544 - 2545 จำนวน 47 คน ครูฝึก จำนวน 23 คน และนายจ้างหรือหัวหน้างานหรือเจ้าของสถานประกอบการ จำนวน 23 คน แบบสอบถามและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ร้อยละค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนี้อหาผลการวิจัย ด้านการเตรียมความพร้อมในการใช้หลักสูตรพบว่า ผู้บริหารและอาจารย์มีการปฏิบัติในระดับมากทุกด้าน ยกเว้นการจัดมุมวิชาการสำหรับอาจารย์ผู้สอนได้ศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง และการติดตามประเมินผลการใช้งบประมาณอย่างเป็นระบบมีการปฏิบัติในระดับน้อย ด้านประเมินปัจจัยเบื้องต้นพบว่า อาจารย์ นักศึกษา และผู้สำเร็จการศึกษา เห็นว่า มีความเหมาะสมในระดับมาก มีความสอดคล้องกับโครงสร้างของหลักสูตร ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสามัคคี รู้จักรับผิดชอบ มีความคิดในการแก้ปัญหาในเรื่องต่าง ๆ ผู้เรียนสามารถปฏิบัติได้จริง และเหมาะสมกับการใช้ประโยชนในชีวิตประจำวัน ด้านกระบวนการการจัดการเรียนการสอนพบว่า อาจารย์ นักศึกษา และผู้สำเร็จการศึกษา เห็นว่ามีความเหมาะสมในระดับมาก ยกเว้น เรื่องการเชิญวิทยากรในท้องถิ่นมาให้ความรู้แก่นักศึกษายังมีการปฏิบัติในระดับน้อย และด้านผลผลิตของหลักสูตรในด้านคุณลักษณะของผู้สำเร็จการศึกษาพบว่า อาจารย์ ครูฝึกและนายจ้างหรือหัวหน้างานหรือเจ้าของสถานประกอบการเห็นว่ามีความเหมาะสมในระดับมากทุกเรื่อง และควรปรับปรุงในเรื่องความสามารถในการใช้ภาษาต่างประเทศและการใช้คอมพิวเตอร์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.193-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา --วิทยานิพนธ์.th_TH
dc.subjectการประเมินหลักสูตรth_TH
dc.subjectการศึกษาทางวิชาชีพ--หลักสูตรth_TH
dc.titleการประเมินหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงระบบทวิภาคีสาขาวิชาช่างยนต์วิทยาลัยเทคนิคเชียงรายth_TH
dc.title.alternativeAn evaluation of the higher vocational education certificate program in the Dual Vocational training System on Auto Mechanics at Chaing Rai Technical Collegeth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2003.193-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe aim of this study was to evaluate the Higher Vocational Education Certificate Program in the Dual Vocational Training System (DVT) on Auto Mechanics at Chiang RaiTechnical College on the following components: readiness preparation for program implementation, input, process, and product of the program. The population used in the studyconsisted of 5 administrators, 21 instructors, 48 second year students in the academic year 2003,47 graduates during academic years 2001-2002, 23 trainers in entrepreneurial places, and 23 employers or work supervisors, or owners of entrepreneurial places. The data collecting instrument was a questionnaire. Statistics used for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation, open ended questions were analyzed by content analysis.Following are the findings of the study. (1) On the component of the preparation of program implementation, it was found that administrators’ practice was at a very high level, except for the provision of academic comers for instructors, and the systematic follow up of budget utilization. (2) On the input component, instructors, students and graduates viewed that the inputs were highly appropriate and in accord with the program structure. They also encouraged students’ unity, responsibility, problem - solving and application in daily life. (3) On the learning process component, instructors, students and graduates viewed that it was appropriate at the high level except for local wisdom invitation as resource persons to the class. (4) On the product component, instructors, trainers, employers, work supervisors or owners of entrepreneurial places for apprenticeship viewed that characteristics of graduates as a whole were at the high level, while the matter of knowledge and ability of foreign language use and computer application were inadequateen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
83166.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.66 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons