Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6462
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัลภา สบายยิ่งth_TH
dc.contributor.authorวัชรีภรณ์ ดีสวัสดิ์, 2522-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-16T06:25:20Z-
dc.date.available2023-06-16T06:25:20Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6462en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการปรับตัวทางอารมณ์ของนักเรียน มัธยมศึกษาตอนต้น ในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดบุรีรัมย์ และ (2) ศึกษาความสัมพันธ์ของสัมพันธภาพในครอบครัว สัมพันธภาพระหว่างนักเรียนกับเพื่อน และสัมพันธภาพระหว่างนักเรียนกับครูที่มีต่อการปรับตัวทางอารมณ์ของนักเรียมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนมัธยมศึกษาจังหวัดบุรีรัมย์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดบุรีรัมย์ ปีการศึกษา 2551 ชั้น ม.1- ม.3 ได้มาโดยใช้การสุ่มแบบหลายขั้นตอน จาก 4 โรงเรียน โรงเรียนละ 100 คน รวมนักเรียน 400 คน เครื่องมือที่ในการใช้วิจัยได้แก่ (1) แบบวัดระดับการปรับตัวทางอารมณ์ (2) แบบวัดสัมพันธภาพในครอบครัว (3) แบบวัดสัมพันธภาพระหว่างนักเรียนกับเพื่อน (4) แบบวัดสัมพันธภาพระหว่างนักเรียนกับครูสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับการปรับตัวทางอารมณ์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดบุรีรัมย์ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (x = 3.85, S.D. = .477) และ (2) สัมพันธภาพในครอบครัว สัมพันธภาพระหว่างนักเรียนกับเพื่อน และสัมพันธภาพระหว่างนักเรียนกับครูมีความสัมพันธ์กับการปรับตัวทางอารมณ์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดบุรีรัมย์ โดยมีค่าความสัมพันธ์ทางบวก ในระดับปานกลาง (r = .382,r = .545, และ r = .447 ตามลา ดับ) อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.294en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการปรับตัว (จิตวิทยา)th_TH
dc.subjectการปรับตัวทางสังคมth_TH
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างสัมพันธภาพกับการปรับตัวทางอารมณ์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดบุรีรัมย์th_TH
dc.title.alternativeRelationships between inter-personal relationship and emotional adjustment of lower secondary students of secondary schools in Buriram Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) study emotional adjustment level of lower secondary school students in Buri Ram province; (2) study the relationships of interpersonal relation in the family, interpersonal relation with peers, and interpersonal relation with teachers with emotional adjustment of lower secondary school students in Buri Ram province. The research sample consisted of 400 lower secondary school students in Mathayom Suksa I – III classes obtained by multi-stage sampling from four secondary schools in Buri Ram province, with 100 students being selected from each of the four schools. The employed research instruments comprised (1) an emotional adjustment level assessment scale, (2) a scale to assess interpersonal relation in the family, (3) a scale to assess interpersonal relation with peers, and (4) a scale to assess interpersonal relation with teachers. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and Pearson correlation coefficient. Research findings revealed that (1) the emotional adjustment level as a whole of lower secondary school students in Buri Ram province was at the moderate level, with overall mean of 3.85 and standard deviation of 0.477; and (2) interpersonal relation in the family, interpersonal relation with peers, and interpersonal relation with teachers of lower secondary school students in Buri Ram province correlated positively at the moderate level with their emotional adjustment, with r = .382; r = .545; and r = .447 respectively, all of which were significant at the .01 levelen_US
dc.contributor.coadvisorเจียรนัย ทรงชัยกุลth_TH
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
127948.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.78 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons