Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/648
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เจีนรนัย ทรงชัยกุล, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | โกศล มีคุณ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | สุรินทร์ เลิศอาวาส, 2507- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-17T03:02:08Z | - |
dc.date.available | 2022-08-17T03:02:08Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/648 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแบบจำลองศูนย์แนะแนวที่สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางที่เหมาะสมในการจัดตั้งศูนย์แนะแนวสำหรับโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็ก ในเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 193 คนไต้มาโดยการเสือกแบบเจาะจง ประกอบต้วย (I) ผู้ให้บริการจำนวน 20 คน (2) ผู้รับบริการจำนวน 120 คน (3) ผู้สนับสนุนงานแนะแนวจำนวน 30 คน (4) ผู้เชี่ยวชาญต้านงานแนะแนวจำนวน 18 คน และ (5) ผู้ทรงคุณๅฒิที่เกี่ยวข้องกับงานแนะแนวจำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามความคิดเห็นจากกลุ่มผู้ให้บริการแนะแนว ผู้รับบริการแนะแนว และผู้สนับสนุนงานแนะแนว ใช้แบบสอบถามโดยใช้เทคนิคเดลฟายกับกลุ่ม ผู้เชี่ยวชาญด้านงานแนะแนว และใช้แบบประเมินกับกลุ่มผู้ทรงคุณๅฒิที่เกี่ยวข้องกับงานแนะแนว สถิติที่ ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่ามัธยฐาน และค่าพิสัยระหว่าง ควอไทล์ ผลการวิจัยพบว่า แบบจำลองศูนย์แนะแนวสำหรับโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็กในเขตพี้นที่การศึกษากาญจนบุรีได้รับการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิว่าเป็นแบบจำลองที่ดี สามารถนำไปใช้เป็น แนวทางที่เหมาะสมในการจัดตั้งศูนย์แนะแนวได้ องค์ประกอบของศูนย์แนะแนวที่สำคัญคือ ปรัชญา ปณิธาน เป้าหมาย นโยบาย ภารกิจ การจัดองค์กร บุคลากร อาคารสถานที่ เครื่องมือ สิ่งอำนวยความ สะดวก และงบประมาณ ลักษณะเด่นของศูนย์แนะแนว ได้แก่ มีคณะกรรมการแนะแนวร่วมกันบริหารงานแนะแนวภายใต้การนำของผู้บริหารโรงเรียนที่มีเจตคดีดีต่องานแนะแนว บุคลากรในศูนย์แนะ แนวประกอบด้วยครูแนะแนว และครูช่วยงานแนะแนวที่มีความรู้ทางการแนะแนว สถานที่ตั้งศูนย์แนะแนวควรอยู่ในอาคารเรียนที่เป็นศูนย์กลางของโรงเรียนมีขนาด 2 - 3 ห้องเรียน ซึ่งจัดแบ่งเป็นห้อง ให้บริการปรึกษาเป็นรายบุคคล และห้องให้บริการปรึกษาเป็นกลุ่ม ในศูนย์แนะแนวควรมีข้อสนเทศด้านการศึกษา ต้านอาชีพ ด้านส่วนตัวและสังคม ชุดกิจกรรมและแบบทดสอบทางการแนะแนวไว้บริการ ศูนย์แนะแนวควรไต้รับเงินงบประมาณประจำในการบริหารศูนย์แนะแนว และการจัดบริการแนะแนวทั้ง 5 บริการหลัก | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.64 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การแนะแนว--แบบจำลอง | th_TH |
dc.subject | การแนะแนวในระดับมัธยมศึกษา | th_TH |
dc.title | แบบจำลองศูนย์แนะแนวสำหรับโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็กในเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | A guidance center model for small secondary schools in Kanchanaburi educational service area | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2003.64 | - |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Research findings showed that the guidance center model for small secondary schools in Kanchanaburi Educational Service Area was evaluated by experts as being a good model that can be used as an appropriate prototype for the guidance center in small schools. The main components of the guidance center were its philosophy, aspiration, goal, policy, mission, organizational structure, personnel, building and location,instruments, facilities, and budget. Distinctive features of the guidance center model were as follows: It should be run under the school guidance committee headed by the principal who has good attitudes towards guidance service. The guidance center personnel should comprise guidance teachers and assistant guidance teachers who are well-informed on guidance. The guidance center should be located in the central building of the school. It should have the size of 2 - 3 classroom classrooms which is divided into the individual guidance and the group guidance sections. The guidance center should have a collection of educational, vocational, personal and social information to be used for guidance. It should also have a collection of tests and guidance activity packages for guidance service. Regular budgets for the guidance center should be provided sufficiently to support its administration and enable it to provide the five main guidance services. Keywords: Guidance center, Secondary school, Model | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License