Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6518
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเชาว์ โรจนแสง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorคมสัน รัชตพันธ์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-19T08:05:36Z-
dc.date.available2023-06-19T08:05:36Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6518-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพตลาดของหนึ่งตำบลหนึ่ง ผลิตภัณฑ์ในจังหวัดภูเก็ต (2) ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ใน จังหวัดภูเก็ต และ (3) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ในจังหวัด ภูเก็ต การเก็บข้อมูลการวิจัยครั้งนี้ได้จากการตอบแบบสอบถามของนักท่องเที่ยวชาวไทย และชาวต่างชาติจำนวน 400 คนในอัตราส่วน 50:50 หลังจากรวบรวมข้อมูลแล้ว ผู้วิจัยได้นำข้อมูล คำตอบของแบบสอบถามชื่งมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามอยู่ที่ 0.84 วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ค่า ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความถี่ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปรด้วย ทดสอบไคสแควร์ การวิเคราะห์ความแตกต่างด้วยการทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวน ทางเดียว การวิเคราะห์เนี้อหาสำหรับข้อคำถามที่มีลักษณะแบบปลายเปิด ผลการศึกษาวิจัยพบว่า (1) นักท่องเที่ยวชาวไทยรู้จักผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบลหนึ่ง ผลิตภัณฑ์มากกว่านักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ คิดเป็นร้อยละ 66 สำหรับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ รู้จัก ผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์คิดเป็นร้อยละ 29 (2) นักท่องเที่ยวชาวไทยและชาว ต่างประเทศเดินทางมาท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ตมากกว่า 3 ครั้ง ซึ่งเดินทางมาเพื่อการท่องเที่ยว และเข้า พักในโรงแรม อยู่ในช่วงอายุระหว่าง 25-35 ปี มากที่สุด มีอาชีพเป็นลูกจ้าง/พนักงานจากหน่วยงาน ต่างๆ นักท่องเที่ยวชาวไทยมีรายได้นัอยกว่า 100,000 บาท มากที่สุดและนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติมี รายได้ระหว่าง 200,001-500,000 บาท มากที่สุด (3) สำหรับปัจจัยส่วนประสมการตลาด ด้านราคา ผลิตภัณฑ์ช่องทางการจัดจำหน่ายและส่งเสริมการตลาด ของนักท่องเที่ยวที่ซื้อผลิตภัณฑ์หนึ่ง ตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ในจังหวัดภูเก็ตโดยรวมจากทุกประเทศมีค่าอยู่ในระดับนัอยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.284-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์--การตลาดth_TH
dc.subjectสินค้าเกษตรth_TH
dc.titleปัจจัยการตลาดของผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์เพื่อตลาดการท่องเที่ยวในจังหวัดภูเก็ตth_TH
dc.title.alternativeMarketing factors of one Tambon One Product (OTOP) for tourist market in Phuket Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.284-
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) the current situation of One Tambon One Product (OTOP) market in Phuket Province, (2) personal factors affecting OTOP products in Phuket Province, and (3) marketing mix factors of OTOP products in Phuket Province. The data in this research were collected from 400 tourists both Thais and foreigners in Phuket Province at ratio of 50:50 by using questionnaires with reliability of 0.84. The statistics used for data analysis were percentage, mean, frequency, standard deviation. Chi-square, t-test, ANOVA, and content analysis. The research finding were: (1) Thai tourists had known OTOP products more than foreign tourists at 66% whereas foreign tourists had known OTOP products only 29%. (2) Both Thai and foreign tourists came to Phuket more than 3 times for their holiday. They normally stayed in the hotels in Phuket. Their average ages were 25-35 years old and their occupations mostly were employees in various offices. Annual incomes of Thai tourists were less than 100,000 baht and 200,001-500,000 baht for foreign tourists, and (3) overall marketing mix factors in term of product, price, place, and promotion of tourists buying OTOP product in Phuket were at the low levelen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
110377.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.69 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons