Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6553
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์th_TH
dc.contributor.authorจีระวรรณ บุตรศาสตร์, 2513-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-06-20T07:25:11Z-
dc.date.available2023-06-20T07:25:11Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6553en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษากระบวนการตรวจสอบภายในของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต3 (2) ศึกษาการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการตรวจสอบภายในกับการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 และ (4) ศึกษากระบวนการตรวจสอบภายในที่ส่งผลต่อการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารและครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 จำนวน 234 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .96 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาปรากฏว่า (1) กระบวนการตรวจสอบภายในของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงตามลำดับ ดังนี้ การปฏิบัติงานตรวจสอบ การรายงานผล การตรวจสอบ การวาง แผนการตรวจสอบ และการติดตามผลการตรวจสอบ (2) การบริหารงบประมาณของสถานศึกษาโดยรวม และรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงตามลำดับดังนี้ การบริหารบัญชี การบริหาร การเงิน การจัดทำ และเสนอของบประมาณ การบริหารพัสดุ และสินทรัพย์ การจัดสรรงบประมาณ การตรวจสอบติดตามประเมินผล การรายงานผลการใช้จ่ายเงิน และผลดำเนินงาน และการระดมทรัพยากร และการลงทุนเพื่อ การศึกษา (3) ความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการตรวจสอบภายในกับการบริหารงบประมาณของสถานศึกษา มีความสัมพันธ์เชิงบวก และ (4) กระบวนการตรวจสอบภายในที่ส่งผลต่อการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 ได้แก่ การรายงานผลการตรวจสอบth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการตรวจสอบภายในth_TH
dc.subjectงบประมาณโรงเรียน--ไทยth_TH
dc.subjectการบริหารการศึกษา--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleกระบวนการตรวจสอบภายในที่ส่งผลต่อการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3th_TH
dc.title.alternativeInternal audit processes affecting budget administration of basic education schools under Kalasin Primary Education Service Area Office 3en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to study internal audit processes of basic education schools under Kalasin Primary Education Service Area Office 3; (2) to study budget administration of basic education schools under Kalasin Primary Education Service Area Office 3; (3) to study the relationship between internal audit processes and budget administration of basic education schools under Kalasin Primary Education Service Area Office 3; and (4) to study internal audit processes affecting budget administration of basic education schools under Kalasin Primary Education Service Area Office 3. The research sample consisted of 234 administrators and teachers in basic education schools under Kalasin Primary Education Service Area Office 3, obtained by simple random sampling. The research instrument was a questionnaire with reliability coefficient of .96. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, Pearson product moment correlation, and multiple regression analysis. The findings revealed that (1) the overall and by-aspect internal audit processes of basic education schools under Kalasin Primary Education Service Area Office 3 were rated at the high level and the specific aspects could be ranked based on their rating means as follows: inspection operation, reporting of inspection results, audit planning and the follow-up of inspection results; (2) the overall and by-aspect of budget administration were rated at the highest level and the specific aspects could be ranked based on their rating means as follows: accounting administration; financial administration; budget preparation and request; procurement and asset administration; budget allocation; inspection, monitoring, evaluation, and reporting of spending and operating results; and mobilizing resources and investment for education; (3) the internal audit processes and the budget administration of the school had a positive relationship; and (4) the internal audit processes affecting budget administration of basic education schools under Kalasin Primary Education Service Area Office 3 was the reporting of inspection resultsen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_161868.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.39 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons