Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/659
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปรียา หิรัญประดิษฐ์ | th_TH |
dc.contributor.author | ฉัตราพร ดวงสร้อย, 2504- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-17T04:19:01Z | - |
dc.date.available | 2022-08-17T04:19:01Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/659 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาส่วนประกอบและความหมายของเครื่อง สังเวย เครื่องกระยาบวช บายครีปากชาม และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในพิธีไหว้ครูและศึกษาความเชื่อของกลุ่มคนในวงการดนตรีและนาฏศิลป์ไทย โดยวิธีการศึกษาจากเอกสาร การสังเกตและการสัมภาษณ์ ผู้รู้ รวมทั้งกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องในพิธีไหว้ครูดนตรีและนาฏศิลป์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี ผลการศึกษาพบว่าการไหว้ครูดนตรีและนาฏศิลป์ไทย เป็นพิธีกรรมตามความเชื่อเพื่อแสดงความเคารพบูชา ครู อาจารย์ ผู้มีพระคุณ และบวงสรวงสังเวยเทพเจ้าแห่งดุริยศาสตร์และนาฏยศาสตร์เนื่องจากเป็นครูผู้สร้างสรรค์และประสิทธิ์ประสาทวิชาให้ ความเชื่อนี้มีความสัมพันธ์ต่อการศึกษา และการดำเนินชีวิตของคนในวงการดนตรีนาฏศิลป์เป็นอย่างมาก เครื่องสังเวย คืออาหารสุกและอาหารดิบ เครื่องกระยาบวช คือ อาหารที่ไม่ปรุงเจือด้วยของคาวและบายศรีปากชาม คือ เครื่องเชิญขวัญที่ประดิษฐ์จากใบตองใช้สักการะเทพเจ้าสิ่งศักดิสิทธิ์ชั้นสูง วัตถุสิ่งของที่ใช้ในการประกอบพิธีกรรม ได้แก่ ศีรษะเทพเจ้าชั้นสูง ภาพถ่ายครูที่ถึงแก่กรรมรวมถึงของใช้ในการทำพิธีไหว้ครู ล้วนสื่อความหมายให้มีความอุดมสมบูรณ์และเป็นสิริมงคลแก่ผู้เข้าร่วมพิธี แสดงถึงความสัมพันธ์ของมนุษย์ที่มีต่ออำนาจเหนือธรรมชาติ สะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อ ความคิด ความรู้สึก ที่ได้รับจากอิทธิพลของศาสนาพุทธ ศาสนาพราหมณ์ฮินดูและความเชื่อดั้งเดิม ที่มีบทบาทสำคัญในการสร้างเสริมกำลังใจให้ประสบผลสำเร็จในการศึกษาและในอาชีพ การจัดพิธีไหว้ครูช่วยให้เข้าใจพี้นฐานทางความคิด ความเชื่อของผู้ศึกษาวิชาการทางดนตรีนาฏศิลป์และผู้เข้าร่วมพิธี อีกทั้ง เพื่อสืบทอดภูมิปัญญาและเผยแพร่ให้บุคคลทั่วไปได้รับรู้ เพื่อธำรงรักษาวัฒนธรรมของชาติสืบต่อไป | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาไทยคดีศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | พิธีไหว้ครูดนตรีและนาฏศิลป์ไทย | th_TH |
dc.subject | การไหว้ครู | th_TH |
dc.subject | ดนตรีไทย | th_TH |
dc.subject | นาฏศิลป์ไทย | th_TH |
dc.subject | เครื่องใช้ในพิธีกรรม | th_TH |
dc.title | ความหมายของเครื่องสังเวยบูชากระยาบวชในพิธีไหว้ครูดนตรีและนาฏศิลป์ไทย : กรณีศึกษาวิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Meaning of sacrificial offerings "Kra Ya Buad" in a ceremony to pay tributes to Thai tradifional Music and Dance Teachers : a case study in the college of Dramatic Arts Lopburi | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศิลปศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were to study 1) the elements and meanings of the sacrificialofferings ‘Kra Ya Buad’, ‘Bai Sri Pakcham’, and the equipment used in the ‘Wai Khru’ ritual and to study 2) the beliefs of a group of Thai classical music and dance teachers. The data were collected from documents, observation and interviews with the rahmans, the senior teachers and a group of Thai classical music and dance teachers in the College of Dramatic Arts in Lopburi. The results revealed that: the ‘Wai Khru’ ritual in Thai classical music and dance is the custom and rite of ‘paying homage to teachers’and gods of Thai classical music and dance who created and gave knowledge to students. These beliefs were related to the study and the ways of their lives. The offerings were both raw and cooked materials. ‘Khrcung Kra ya Buad’ Included only fresh food. ‘Bai Sri Pakcham’ were ‘Khreung Chen Kwan’ made of banana leaves to pay respect to sacred, higher gods.Other offerings were busts heads of the sacred gods and photos of late teachers. These offerings communicated the blessing and fulfillment to participants and indicated the relationship of people to the supernatural, reflecting the beliefs, thoughts and feelings influenced by Buddhism, Bhrams, and Hinduism, The traditional beliefs had an impact on the undamental thoughts and beliefs of students of music and dance and the participants. This blessing ceremony reflected the inheritance of the older generation and dissemination to people to maintain the country’s cultures. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สิริชัยชาญ ฟักจำรูญ | th_TH |
Appears in Collections: | Arts-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext (3).pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 8.72 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License