Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/670
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโกศล มีคุณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอนันต์ จันทร์กวี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorทิพวรรณ สีวาดมา, 2498--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-17T07:52:46Z-
dc.date.available2022-08-17T07:52:46Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/670-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบการปฏิบัติงานที่ได้มาตรฐานของข้าราชการครูที่อยู่ในสถานการณ์ทางสังคมต่างกัน (2) เปรียบเทียบพฤติกรรมการปฏิบัติงานที่ได้มาตรฐานของข้าราชการครูที่มีจิตลักษณะต่างกัน และ (3) ศึกษาความสามารถในการทำนาย การปฏิบัติงานที่ได้มาตรฐานของข้าราชการครูด้วยกลุ่มตัวแปรสถานการณ์ทางสังคม และกลุ่มตัวแปรจิตลักษณะกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย เป็นข้าราชการครูในอำเภอกุดบาก จังหวัดสกลนคร ในปึ การศึกษา 2546 จำนวน 150 คน ที่เลือกมาโดยอย่างง่าย ตัวแปรในการวิจัยมีทั้งสิ้น 7 ตัว ประกอบด้วยตัวแปรสถานการณ์ทางสังคม 3 ตัวแปร ตัวแปรจิตลักษณะ 3 ตัวแปร อีก 1 ตัวแปร คือ พฤติกรรมการปฏิบัติงานที่ได้มาตรฐานของข้าราชการครู เครื่องมือรวบรวมข้อมูล เป็นแบบวัดมาตรประมาณรวมค่า มีค่าความเที่ยงตั้งแต่ .82 ถึง .89 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลคือ การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบ 2 ทาง และ 3 ทาง การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ และ วิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของกลุ่มเป็นรายคู่ด้วยวิธีของเชฟเฟ ซึ่งกระทำทั้งในกลุ่มรวมและ กลุ่มย่อยที่แบ่งโดยใช้ลักษณะทางชีวสังคม หรีอภูมิหลังของข้าราชการครู ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ข้าราชการครูที่ปฏิบัติงานได้มาตรฐานสูงคือข้าราชการครูที่อยู่ในบรรยากาศองค์การที่ดี และมีความสำเร็จในงานสูง (2) ข้าราชการครูที่ปฏิบัติงานได้ มาตรฐานสูงคือ ข้าราชการครูที่มีแรงจูงใจใฝ่สมฤทธิ์สูง และมีเจตคติต่อการเรียนการสอนดีมาก และ (3) ตัวทำนายที่สำคัญของการปฏิบัติงานที่ได้มาตรฐานของข้าราชการครู คือ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์และบรรยากาศองค์การ โดยมีอำนาจการทำงานร่วมกันร้อยละ 58.20th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectครู--ภาระงาน.--ไทยth_TH
dc.titleปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานที่ได้มาตรฐานของข้าราชการครูในอำเภอกุดบาก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 2th_TH
dc.title.alternativePsycho-social factors related to standard level working behaviors of teachers in Gut Bak District under the office of Sakon Nakhon educational service area, zone 2th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to : (1) compare standard level workingbehaviors of teachers in different social situations; (2) compare standard level working behaviors of teachers with different psychological factors; and (3) study predictability ofsocial situation factors and psychological factors for prediction of standard level working behaviors of teachers.The research sample consisted of randomly selected 150 teachers in Gut BakDistrict, Sakon Nakhon Province in the 2003 academic year. Seven variables were included in this study consisting of three social situation factors, three psychological factors, and the working behavior factor. The research instruments for data collection were summated rating scale questionnaires with reliability coefficients ranging from .82 to .89. Statistical procedures for data analysis were the two-way and three-way ANOVA, multiple regression analysis, and Scheffe’s method of pairwise comparison. The analysis was conducted for both the whole group and sub-groups as classified by bio-social factors or teacher’s background. The research findings revealed that (1) teachers who had high standard working behaviors were those who worked in good organizational atmosphere and those who were highly successful in their jobs; (2) teachers who had high standard working behaviors were those who had high achievement motivation and those who had excellent attitudes toward instruction; and (3) the main predictors of teachers' standard level working behaviors were achievement motivation and organizational admosphere with the combined predictability of 58.20 percent. Keywords : Social factor, Psychological factor, Working behavioren_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
83273.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.18 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons