Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6761
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเชาว์ โรจนแสง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเกรียงเดช สวนดี-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-27T06:57:36Z-
dc.date.available2023-06-27T06:57:36Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6761-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนบุคคลกับความพึงพอใจ ของสมาชิกในการใช้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำกัด (2) ความสัมพันธ์ของ ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกับความพึงพอใจของสมาชิกในการใช้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ จุฬาลงกรฟณ์มหาวิทยาลัย จำกัด และ (3) ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ์ออมทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำกัด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ สมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ ได้แก่ ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงาน สมาชิกสมทบ จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่าของลิเคิร์ทที่ผู้วิจัยสร้าง ขึ้น ตรวจสอบความตรงตามเนึ้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 คน มีค่าความเชี่อมั่นได้เท่ากับ 0.9640 สถิติที่ใชั วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบไคว์สแคว์และสหสัมพันธ์ ผลการวิเคราะห์พบว่า (1) ปัจจัยส่วนบุคคลในด้านเพศ ด้านอายุ ด้านระดับการศึกษา ด้าน สถานภาพการสมรส ด้านสถานภาพสมาชิก และด้านระยะเวลาการเป็นสมาชิกมีความสัมพันธ์กับความพึง พอใจของสมาชิกในการใช้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์จุฬาลงกร์มหาวิทยาลัย จำกัด ยกเว้นด้านหน่วยงาน (2) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ด้านการให้บริการ ด้านราคา ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านผู้ให้บริการ ด้านสภาพแวดลัอมในการให้บริการ และด้านกระบวนการ มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจของสมาชิกใน การใช้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำกัด ยกเว้นด้านสถานที่และ (3) ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ์ออมทรัพย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำกัด พบว่า จำนวนสาขาของ สหกรณ์ฯ มีไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เครื่องปรับยอดบัญชีไม่มีความเสถียรในการ ทำงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.228-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสหกรณ์ออมทรัพย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำกัด--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ของปัจจัยทางการตลาดกับความพึงพอใจของสมาชิกในการใช้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำกัดth_TH
dc.title.alternativeMarketing factors and services satisfaction relations of Chulalongkorn University Saving Cooperative Limited's members servicesth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.228-
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research were to: (1) study the relationship of the member’s personal factors and service satisfaction of Saving Cooperation of Chulalongkorn University limited; (2) study the relationship of the marketing mix factor and service satisfaction of Saving Cooperation of Chulalongkorn University limited; (3) and the problems in operation of Saving Cooperation of Chulalongkorn University limited The sample groups of the research were 400 members of Saving Cooperation of Chulalongkorn University limited consisting of officals, government employees and joint members. The instrument employed was a Likert-base questionnaire. The content valibity of the questionnaire was assessed by 5 experts with reliability value of 0.9640. The analytical statistics included percentage, mean, standard deviation, Chi-square test and multiple correlation. The findings of the research found that: (1) the personal factors of the members including sex, age, level of education, marital status, membership, and duration of membership were related to the service satisfaction of members of the Chulalongkorn University Saving Cooperative Limited’s members except their affiliation to different departments within the University; (2) the marketing mix factors including services, price marketing promotion, service providers, service environment and service process were related to service satisfaction of members of the Chulalongkorn University Saving Cooperative Limited’s members except location; and (3) the problems in operation of Chulalongkorn University Saving Cooperative Limited's members were that number of branches of the Cooperative were needed and account balancing machine were unrelableen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
112192.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.9 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons