Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6834
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีระ ประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวริศรา โพธิ์หวี, 2518-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-06-28T06:29:18Z-
dc.date.available2023-06-28T06:29:18Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6834-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัญหาการให้บริการประชาชนขององค์การบริหาร ส่วนตําบลทะนง อําเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร (2) เปรียบเทียบปัญหาการให้บริการประชาชนขององค์การบริหารส่วนตําบลทะนง อําเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร จําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) เสนอแนวทางการพัฒนาการให้บริการประชาชนขององค์การบริหารส่วนตําบลทะนง อําเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ประชาชนผู้ใช้บริการองค์การบริหารส่วนตําบลทะนง อําเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร จํานวน 400 คนได้กลุ่มตัวอย่างจํานวน 200 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบ เฉพาะเจาะจง เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัญหาการให้บริการประชาชนขององค์การบริหารส่วนตําบลทะนง อําเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร ด้านบุคลากร คือเจ้าหน้าที่ให้ บริการล่าช้าไม่มีความกระตือรือร้นในการให้บริการประชาชนด้านกระบวนการ การประชาสัมพันธ์คือ ไม่มีการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารผ่านทางสื่อออนไลน์ (เว็ปไซต์ไลน์ เฟสบุ๊ค) การให้การปรึกษา คือ เจ้าหน้าที่ให้บริการใช้วาจาและท่าทางที่ไม่เป็นมิตรกับประชาชน การรับชําระภาษี คือ การให้บริการรับชําระภาษียุ่งยากมีหลายขั้นตอน การร้องเรียน/ร้องทุกข์ คือไม่ส่งเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ให้หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องช่วยแก้ปัญหา การมีส่วนร่วมของประชาชน คือ ไม่มีการสํารวจความคิดเห็นความต้องการของประชาชน ด้านวัสดุอุปกรณ์คือ ไม่มีการจัดเตรียมคู่มือ ประชาชนสําหรับบริการประชาชน ด้านอาคาร สถานที่ คือมีห้องนํ้าให้บริการไม่เพียงพอต่อประชาชน (2) เปรียบเทียบปัญหาการให้บริการประชาชนขององค์การบริหารส่วนตําบลทะนง อําเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร จําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลพบว่าไม่ต่างกัน (3) ข้อเสนอแนวทางการพัฒนาการให้บริการประชาชน ขององค์การบริหารส่วนตําบลทะนง อําเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร พบว่าด้านบุคลากร ควรกำหนดระยะเวลาในการให้บริการประชาชน ด้านกระบวนการการประชาสัมพันธ์ควรประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อออนไลน์ เช่น เว็ปไซต์ ไลน์เฟสบุ๊ค การให้การปรึกษาควรอบรมให้ความรู้เจ้าหน้าที่เรื่องบุคลิกภาพในการให้บริการประชาชน การรับชําระภาษีควรมีป้ายแสดงขั้นตอนการชําระภาษีการร้องเรียน/ร้องทุกข์ควรส่งเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องช่วยแก้ปัญหาการมีส่วนร่วมของประชาชนควรมีการสํารวจรับฟังความคิดเห็น ความต้องการจากประชาชนในการให้บริการประชาชน ด้านวัสดุอุปกรณ์ควรมีคู่มือประชาชนไว้บริการประชาชน ด้านอาคารสถานที่ ควรสร้างห้องนํ้าเพิ่ม เพื่อรองรับประชาชนที่มารับบริการมากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบริการสาธารณะท้องถิ่นth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการพัฒนาการให้บริการประชาชนขององค์การบริหารส่วนตำบลทะนง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตรth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of public service of Tanong Administrative Organization, Pho Thale District, Phichit Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to (1) study the problems of public service of Thanong Sub-District Administrative Organization, Pho Thale District, Phichit Province (2) compare the problems of public service of Thanong Sub-District Administrative Organization, Pho Thale District, Phichit Province classified by personal factors (3) propose guidelines for public service development of Thanong Sub-District Administrative Organization, Pho Thale District, Phichit Province. Population was 400 people who were service users of Thanong Sub-District Administrative Organization and derived to 200 samples by purposive sampling method. The instrument used was a questionnaire. Statistics applied for analysis included frequency, percentage, mean and standard deviation. The findings revealed that (1) the problems of people service of Thanong SubDistrict Administrative Organization, Pho Thale District, Phichit Province were the officers served retard and were not enthusiastic in public service. For public relation aspect, it showed that there was not publicize any information via online media (website, line, Facebook). For consulting aspect, the officers performed with unfriendly verbal communication and manners with people. In term of tax collection service, it showed an uneasy and complicated procedures. For voice of customer aspect, it showed that people’s compliant was not hand on to other relevant units. For people participation aspect, there was not any survey on people needs. For material aspect, there was no preparation of people service manual. And for the building and places, there was not sufficient toilets (2) comparison of the problems of public service classified by personal factors, there was no difference (3) guidelines for public service development of Thanong Sub-District Administrative Organization, Pho Thale District, Phichit Province were that for personnel aspect, there should set the schedule of public service. For public relations, there should publicize via media online such as website, line application and Facebook. For consulting aspect, there should provide training to the officers on personality for public service. For tax collection procedure, there should have tag or sign showing the procedures of tax payment. For delivering people’s voice, there should hand on the complaint to relevant units to help solving problems. For people participation aspect, there should have survey for the needs of public service. For material aspect, there should have people manual. For building and place, there should construct more toilets to serve the peopleen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_156079.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.15 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons