Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6859
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรรณพ จีนะวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนพดล อารมณ์รัตน์, 2533-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-06-28T07:53:04Z-
dc.date.available2023-06-28T07:53:04Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6859en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการบริหารงานวิชาการโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 (2) เปรียบเทียบการบริหารงานวิชาการโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้บริหารสถานศึกษาตามความพร้อมทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของสถานศึกษาและระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน และ (3) ศึกษาแนวทางในการพัฒนาการบริหารงานวิชาการโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 59 คน และครูจาก 59 โรงเรียน โรงเรียนละ 8 คน รวมได้กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดจำนวนรวม 531 คน เครื่องมือการวิจัย เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารวิชาการโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจำนวน 1 ฉบับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ระดับการบริหารงานวิชาการโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก (2) ผลการเปรียนเทียบการบริหารงานวิชาการโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารตามสภาพความพร้อมทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน พบว่า สถานศึกษาที่มีสภาพความพร้อมทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูง ผู้บริหารมีการบริหารงานวิชาการโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมากกว่าสถานศึกษาที่ไม่มีสภาพความพร้อมทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนตํ่าอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 และ (3) แนวทางในการพัฒนาการบริหารงานวิชาการโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พบว่า ผู้บริหารควรพัฒนาการบริหารวิชาการโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด้านการวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษา และควรสนับสนุนให้ครูและบุคลากร พัฒนาเทคโนโลยีเพื่อนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลโดยเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลส่วนกลางth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการบริหารการศึกษาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleการบริหารงานวิชาการโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1th_TH
dc.title.alternativeAcademic administration with the use of information and communication technology of school administrators under of the Secondary Educational Service Area Office 1en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study academic administration with the use of information and communication technology of school administrators under the Secondary Education Service Area Office 1; (2) to compare the levels of academic administration with the use of information and communication technology of school administrators as classified by the school’s readiness level of information and communication technology and learning achievement level of its students; and (3) to study the guidelines for development of academic administration with the use of information and communication technology of school administrators. The research sample totaling 531 school personnel consisted of 59 school administrators and 472 teachers from 59 schools (8 teachers per school). The employed research instrument was a questionnaire on academic administration with the use of information and communication technology. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and t-test. The research results showed that (1) both the overall and every aspect of academic administration with the use of information and communication technology of school administrators were rated at the high level; (2) results of comparing the levels of academic administration with the use of information and communication technology of school administrators as classified by the school’s readiness level of information and communication technology and learning achievement level of its students revealed that administrators of the schools with high readiness level of information and communication technology and high learning achievement level of their students used significantly higher level of academic administration with the use of information and communication technology than that of administrators of the schools with low readiness level of information and communication technology and low learning achievement level of their students at the .05 level of statistical significance; and (3) as for guidelines for development of academic administration with the use of information and communication technology of school administrators, the following guidelines were provided: the school administrators should develop academic administration with the use of information and communication technology in the aspect of educational quality research and development; they also should encourage and support the teachers to develop technology for application in their instructional management and learning outcome measurement and evaluation, with connection to the central databaseen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_156576.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.37 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons