Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6988
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กิ่งพร ทองใบ | th_TH |
dc.contributor.author | หงิม ปากหวาน, 2505- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-30T06:44:31Z | - |
dc.date.available | 2023-06-30T06:44:31Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6988 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 | th_TH |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพและลักษณะของการบริหารค่าตอบแทนของโรงงานอุตสาหกรรมในนิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง (2) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคของการบริหารค่าตอบแทนแก่พนักงานในกลุ่มโรงงานอุตสาหกรรมในนิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง และ (3) เสนอแนะการบริหารค่าตอบแทนที่มีประสิทธิภาพให้กับโรงงานอุตสาหกรรมในนิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรได้แก่ บริษัทในนิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง 242 บริษัท กลุ่มตัวอย่างแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ ผู้บริหารและพนักงาน กลุ่มผู้บริหาร สุ่มตัวอย่าง แบบเจาะจงและทำการรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้บริหาร 20 บริษัท และกลุ่มพนักงานสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอนและทำการรวบรวมข้อมูลโดยการสอบถาม จำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ และทดสอบความสัมพันธ์โดยใช้ค่าสหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า (1) สภาพและลักษณะของการบริหารค่าตอบแทนในโรงงานอุตสาหกรรมลาดกระบัง ในมุมมองของผู้บริหารเห็นว่า กระบวนการบริหารส่วนใหญ่มีการวิเคราะห์งานและประเมินงานโดยเปิดโอกาสให้พนักงานมีส่วนร่วมในการบริหารค่าตอบแทน และผู้บริหารมีความพึงพอใจในการบริหารค่าตอบแทนระดับสูง สำหรับมุมมองของพนักงานซึ่งส่วนใหญ่เป็นพนักงานระดับปฏิบัติการ มีความสนใจในเรื่องการจ่ายค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน มีความเห็นว่าค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงินอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานและมีการบวกเพิ่มค่าค่าตอบแทนทางอ้อมบางรายการจากกฏหมายคุ้มครองแรงงาน พนักงานมีความ พึงพอใจในการบริหารค่าตอบแทนในระดับปานกลาง (2) ปัญหาและอุปสรรคทางการบริหารค่าตอบแทนอยู่ที่ความสนใจและผลประโยชน์ที่แตกต่างกันของฝ่ายบริหารและพนักงาน โดยฝ่ายบริหารเห็นว่าการบริหารค่าตอบแทนขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานเป็นสำคัญ การกำหนดค่าตอบแทนอาศัยหลักการการวิเคราะห์และประเมินค่างานอย่างเป็นระบบ แต่พนักงานมีความต้องการในค่าตอบแทนทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงินตามสภาพเศรษฐกิจและสังคม ทำให้มีความต้องการที่มากและไม่อยู่บนหลักปรัชญาพื้นฐานของการบริหารค่าตอบแทน และ (3) การบริหารค่าตอบแทนให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอีกทั้งมีความสอดคล้องกับความต้องการของพนักงาน ผู้บริหารควรให้พนักงานมีส่วนร่วมในกระบวนการบริหารค่าตอบแทนและให้ความสำคัญในเรื่องการสื่อสารนโยบายการบริหาร เพื่อให้พนักงานมีความรู้ความเข้าใจมากขึ้น เพื่อลดการต่อต้านของพนักงาน และเพื่อขจัดปัญหาความขัดแย้งในการบริหารค่าตอบแทน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.352 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การบริหารค่าตอบแทน--ไทย | th_TH |
dc.subject | นิคมอุตสาหกรรม--ไทย | th_TH |
dc.title | การบริหารค่าตอบแทนของโรงงานอุตสาหกรรมในนิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง | th_TH |
dc.title.alternative | Compensation management of Industries Factory at Ladkrabang Industrial Estate | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2013.352 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.352 | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research aimed to: (1) study situation and characteristics of compensation management of indusial factory at Ladkrabang Industrial Estate; (2) study problems and obstacles of compensation management in industrial factory at Ladkrabang Industrial Estate; and (3) suggest more efficient compensation management to indusial factory at Ladkrabang Industrial Estate. The population of this survey research consisted of 242 companies in indusial factory at Ladkrabang Industrial Estate. The sample group was divided into 2 groups: the executive managers and the staff, selected by purposive sampling. The data were collected by in-depth interviews of 20 executive managers. Then 400 staff were selected by multi-stage sampling and the data were collected by questionnaires. The statistics employed for data analysis were frequency, percentage and Pearson’s product moment correlation coefficient. The results revealed that: (1) situation and characteristics of the compensation management of indusial factory at Ladkrabang Industrial Estate as perceived by executive administrators indicated that most of compensation management process was analyzed and evaluated by the staffs, participation and the executive managers were satisfied with this management at a high level, while the staff, mostly in the operation level, had interest in financial compensation. They were of the opinions that financial compensation was in standard criteria and the indirectly compensation were added from the Labor protection Law. The staff satisfaction was at a moderate level; (2) problems and obstacles of compensation management were the interest and different benefits between the management and staff. On one hand the executive managers perceived that compensation management relied on the efficiency and effectiveness of work performance. The determination of compensation used the principle of analysis and systematic evaluation. One the other hand, the staff wanted both financial and non-finical compensation based on the economic and social situation, resulting in more demand and not on the fundamental philosophical principle of compensation, management; and (3) as for the efficient and effective financial compensation management which corresponded to the staff’ needs, the executive managers should allow the staff to participate in the process of compensation management and gave importance to the communication of policy management so that the staff’ would know and understand more. This would decreases staff’ resistance and would also eliminate the conflicts in compensation management. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | รชพร จันทร์สว่าง | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
140611.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 1.9 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License