Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7086
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | เฉลิมพงศ์ มีสมนัย, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ธารินี แสงสว่าง, 2510- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-03T03:16:50Z | - |
dc.date.available | 2023-07-03T03:16:50Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7086 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครคุมประพฤติใน การแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิดในชุมชนในสังกัดสำนักงานคุมประพฤติภาค 7 (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยพื้นฐานของอาสาสมัครคุมประพฤติกับการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครคุมประพฤติในการแก้ไขฟื้นฟู ผู้กระทำผิดในชุมชนในสังกัดสำนักงานคุมประพฤติภาค 7 (3) เปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมของอาสาสมัคร คุมประพฤติในการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิดในชุมชน ในสังกัดสำนักงานคุมประพฤติภาค 7 จำแนกตามพื้นที่ (4) ศึกษาแนวทางในการสร้างเสริมการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครคุมประพฤติในการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิด ในสังกัดสำนักงานคุมประพฤติภาค 7 การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร 1,235 คน ประกอบ้วย อาสาสมัครคุมประพฤติ ในการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิดในชุมชนในสังกัดสำนักงานคุมประพฤติภาค 7 จำนวน 1,212 คน ผู้บริหารระดับสูง ทั้งหมด และ บุคลากรทั้งหมดในเขตสำนักงานคุมประพฤติภาค 7 จำนวน 23 คน กลุ่มตัวอย่าง 324 คน ประกอบด้วยผู้บริหารระดับสูงและบุคลากรทั้งหมดของสำนักงานคุมประพฤติภาค 7 จำนวน 23 คน และ อาสาสมัครคุมประพฤติในการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิดในชุมชนในสังกัดสำนักงานคุมประพฤติภาค 7 จำนวน 301 คน คำนวณจากสูตรของทาโร่ ยามาเน่ สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถามและ แบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธ์ิ สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) การมีส่วนร่วมของอาสาสมัครคุมประพฤติ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านการมีส่วนร่วมคิด มีค่าเฉลี่ยสูงสุด (2) ปัจจัยพื้นฐานที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับ การมีส่วนร่วมของอาสาสมัครคุมประพฤติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยปัจจัยด้านความสามารถมีค่า ความสัมพันธ์สูงสุด (3) ผลการเปรียบเทียบ พบว่า อาสาสมัครคุมประพฤติ สำนักงานคุมประพฤติจังหวัดเพชรบุรี มีส่วนร่วมสูงสุด และอาสาสมัครคุมประพฤติ สำนักงานคุมประพฤติจังหวัด สุพรรณบุรี มีส่วนร่วมต่ำ สุด (4) แนวทางสำคัญ ในการส่งเสริมการมีส่วนร่วม ได้แก่ กรมคุมประพฤติควรพัฒนาความรู้ของอาสาสมัครคุม ประพฤติ เพื่อให้สามารถเข้ามามีส่วนร่วมกับ สำนักงานคุมประพฤติในการวิเคราะห์ปัญหาผู้กระทำผิด ส่งเสริม การมีส่วนร่วมกำหนดแผนงานเชิงรุกด้วยการมอบหมายให้เป็นผู้จัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิด ในชุมชน สนับสนุนด้านงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ในการทำงานให้เพียงพอ และส่งเสริมให้อาสาสมัครคุม ประพฤติบริหารจัดการศูนย์ป์ระสานงานอาสาสมัครคุมประพฤติด้วยตนอง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.189 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | อาสาสมัครคุมประพฤติ | th_TH |
dc.subject | การคุมประพฤติ -- การมีส่วนร่วมของประชาชน | th_TH |
dc.title | การมีส่วนร่วมของอาสาสมัครคุมประพฤติในการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิดในชุมชนในสังกัดสำนักงานคุมประพฤติภาค 7 | th_TH |
dc.title.alternative | Participation of volunteer probation officers in the community - based offenders rehabilitation services of the Probation Office Region 7 | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were to (1) examine the participation levels of volunteer probation officers in the community-based offenders rehabilitation services of the Probation Office Region 7, (2) investigate the relationship between basic attribute factors of volunteer probation officers and their participation in the community-based offenders rehabilitation services of the Probation Office Region 7, (3) compare the participation levels of volunteer probation officers in the communitybased offenders rehabilitation services of the Probation Office Region 7 classified by areas, (4) recommend appropriate guidelines to enhance the participation of volunteer probation officers in the community-based offenders rehabilitation services of the Probation Office Region 7. The study was a survey research. Population of 1,235 comprised 1,212 volunteer probation officers in the community-based offenders rehabilitation services of the Probation Office Region 7, all 23 executives and officials of provincial probation officers under the Probation Office Region 7. Samples of 324 included 301 volunteer probation officers obtained via Taro Yamane calculation and 23 executives and officials. Accidental random sampling was applied. Instrument used were questionnaire and interview forms. Statistical tools employed were frequency, percentage, standard deviation, and Pearson’s correlation coefficient. The results of the study were as follows: (1) the volunteer probation officers, in general, had high level of participation, with highest mean on decisionmaking aspect (2) basic attribute factors had positive relations with volunteers' participation at 0.05 level of statistical significance, with capacity factor the highest correlation, (3) when compared the participation, the study revealed that the volunteer probation officers of Phetchaburi Probation Office had the highest level of participation, while volunteer probation officers of Suphanburi Probation Office had the lowest level of participation, (4) major recommendations were the Department of Probation should increase the capacity of volunteer probation officers through development program to enable them to work together with the officials in analyzing offenders' problems, encourage their participation in drawing up the action plan by assigning them to work as project managers of community-based offenders rehabilitation activities, support sufficient budget and equipment, and enable them to manage their own volunteer coordinating centers | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
144954.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License