Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7088
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีระ ประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุทธิพงษ์ วัดเมือง, 2521-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-03T03:33:49Z-
dc.date.available2023-07-03T03:33:49Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7088-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัญหาการบริหารการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) จังหวัดนครสวรรค์ (2) เปรียบเทียบปัญหาการบริหารการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) จังหวัดนครสวรรค์ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) เสนอแนะแนวทางการพัฒนาการบริหารการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) จังหวัดนครสวรรค์ การศึกษาครั้งเป็นการวิจัยเชิงสำรวจประชากรในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ จากสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครสวรรค์ จำนวน 80 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบ ค่าเอฟ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัญหาการบริหารการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) จังหวัด นครสวรรค์ที่สำคัญ คือ ขั้นเตรียมความพร้อม ค่าตอบแทนผู้จัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ที่ได้รับจัดสรรไม่เพียงพอต่อการดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ ระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการบันทึกและประมวลผล ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ยุ่งยากและไม่สะดวกต่อการใช้งาน ขั้นหลังดำเนินการหน่วยงานอื่นไม่ให้ความสำคัญ และไม่ใช้ประโยชน์จากข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) (2) เปรียบเทียบปัญหาการบริหารการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) จังหวัดนครสวรรค์ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่าระดับการศึกษา อายุราชการ ระดับตำแหน่ง และพื้นที่ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนต่างกัน มีความเห็นต่อปัญหาและแนวทางการพัฒนาการบริหารการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) จังหวัดนครสวรรค์ ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 และ (3) ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการบริหารการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) จังหวัดนครสวรรค์ ที่สำคัญ คือ ขั้นเตรียมความพร้อมควรกำหนดค่าจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) เป็นโซนหรือเขตพื้นที่ตามระดับความยากง่ายหรือความหนาแน่นของหมู่บ้าน/ชุมชน ขั้นดำเนินการควรมีระบบ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการบันทึกและประมวลผลข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ที่ไม่ยุ่งยาก และสะดวกต่อการใช้งาน ขั้นหลังดำเนินการควรส่งเสริม และประชาสัมพันธ์ผลการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ให้กับทุกภาคส่วน ให้เห็นความสำคัญ และใช้ประโยชน์จากข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัญหาการบริหารการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) จังหวัดนครสวรรค์ (2) เปรียบเทียบปัญหาการบริหารการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) จังหวัดนครสวรรค์ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) เสนอแนะแนวทางการพัฒนาการบริหารการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) จังหวัดนครสวรรค์ การศึกษาครั้งเป็นการวิจัยเชิงสำรวจประชากรในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ จากสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครสวรรค์ จำนวน 80 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบ ค่าเอฟ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัญหาการบริหารการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) จังหวัด นครสวรรค์ที่สำคัญ คือ ขั้นเตรียมความพร้อม ค่าตอบแทนผู้จัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ที่ได้รับจัดสรรไม่เพียงพอต่อการดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ ระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการบันทึกและประมวลผล ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ยุ่งยากและไม่สะดวกต่อการใช้งาน ขั้นหลังดำเนินการหน่วยงานอื่นไม่ให้ความสำคัญ และไม่ใช้ประโยชน์จากข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) (2) เปรียบเทียบปัญหาการบริหารการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) จังหวัดนครสวรรค์ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่าระดับการศึกษา อายุราชการ ระดับตำแหน่ง และพื้นที่ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนต่างกัน มีความเห็นต่อปัญหาและแนวทางการพัฒนาการบริหารการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) จังหวัดนครสวรรค์ ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 และ (3) ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการบริหารการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) จังหวัดนครสวรรค์ ที่สำคัญ คือ ขั้นเตรียมความพร้อมควรกำหนดค่าจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) เป็นโซนหรือเขตพื้นที่ตามระดับความยากง่ายหรือความหนาแน่นของหมู่บ้าน/ชุมชน ขั้นดำเนินการควรมีระบบ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการบันทึกและประมวลผลข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ที่ไม่ยุ่งยาก และสะดวกต่อการใช้งาน ขั้นหลังดำเนินการควรส่งเสริม และประชาสัมพันธ์ผลการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ให้กับทุกภาคส่วน ให้เห็นความสำคัญ และใช้ประโยชน์จากข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleปัญหาและแนวทางการพัฒนาการบริหารการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) จังหวัดนครสวรรค์th_TH
dc.title.alternativeProblems and guidelines for basic minimum needs data collecting administration in Nakhonsawan Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: (1) to study problems of basic minimum needs data collecting administration in Nakhonsawan Province; (2) to compare problems of basic minimum needs data collecting administration in the process of data storage management; and (3) to recommend approaches to develop basic minimum needs data collecting administration in Nakhonsawan Province. This study was a survey research. Population was 80 community development officers in Nakhonsawan Province. Research instrument used for data collection were a questionnaire and an interview form. Statistics for data analysis employed frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, f-test and content analysis. The findings of this study were: (1) problems of basic minimum needs data collecting administration in Nakhonsawan Province in preparatory stage was less allowance for data storage officers. In implementation stage was computerized program for data recording and processing were complicated and not convenient to implement. In post-recording stage was the organization did not place importance on the collected data and not utilize it; (2) the comparison on problems of basic minimum needs data collecting administration in the process of data storage management classified by personal factors, it was found that educational background, duration of work, position and area of work showed opinion differences to problems of basic minimum needs data collecting administration in Nakhonsawan Province at statistical significance level at 0.05; and (3) recommendations were in preparatory stage, there should identify the allowances for basic minimum needs data collecting according to area approaches or community density, in implementation stage, there should provide uncomplicated recording and processing program and in post-recording stage, there should promote and publicize the results of basic minimum needs data to all sectors concerned to place importance and for applianceen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_153528.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.53 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons