Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/710
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลาวัณย์ ถนัดศิลปกุลth_TH
dc.contributor.authorสมหวัง ก๋าอิ่นแก้ว, 2514-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-18T02:56:33Z-
dc.date.available2022-08-18T02:56:33Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/710en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความเป็นมาแนวคิดทฤษฎีของหลักความรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย (2) ศึกษาความเป็นมาแนวคิดทฤษฎีของความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัยของประเทศไทย (3) ศึกษาถึงหลักเกณฑ์ในการพิจารณาสินค้าที่ไม่ปลอดภัยของประเทศสหรัฐอเมริกากลุ่มสหภาพยุโรป อังกฤษ เยอรมนีและญี่ปุ่น (4) เปรียบเทียบหลักการพิจารณาสินค้าที่ไม่ปลอดภัยของประเทศไทยและสหรัฐอเมริกากลุ่มสหภาพยุโรป อังกฤษ เยอรมนีและญี่ปุ่น (5) นําหลักที่ศึกษาได้มาปรับใช้กับการพิจารณาสินค้าที่ไม่ปลอดภัยตามพระราชบัญญัติความรับผิดต่อความ เสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551 ของประเทศไทยต่อไปวิทยานิพนธ์นี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพศึกษาค้นคว้าจากเอกสาร เช่น ตํารากฎหมาย คําพิพากษาของศาล บทความ วารสารวิทยานิพนธ์เอกสารออนไลน์ต่าง ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ผลของการศึกษาพบว่าหลักเกณฑ์ การพิจารณาสินค้าที่ไม่ปลอดภัยแบ่งออกเป็น 4 หลักเกณฑ์ คือ หลักความคาดหมายของผู้บริโภค หลักความเสี่ยงและประโยชน์หลักความประมาทเลินเล่อและหลักการพิจารณากรณีอื่นๆ โดยประเทศไทยนำเอาหลักความคาดหมายของผู้บริโภคตามแบบอย่างของกลุ่มสหภาพยุโรป ที่เป็นต้นแบบของกฎหมายความรับผิดต่อผลิตภัณฑ์ของไทยมาเป็นหลักเกณฑ์การพิจารณาสินค้าไม่ปลอดภัย ซึ่งมุ่งพิจารณาจากความพึงคาดหมายได้ของฝ่ายผู้บริโภคทั่วไปที่พึงคาดหมายได้ว่าเป็น “สินค้าที่ไม่ปลอดภัย” ข้อเสนอแนะสําหรับการพิจารณาสินค้าที่ไม่ปลอดภัยของประเทศไทยควรนำเอาหลักความเสี่ยงและประโยชน์ มาพิจารณาความเป็นสินค้าที่่ไม่ปลอดภัยร่วมด้วย ภายใต้เงื่อนไขของกฎหมาย คําว่า “สภาพของสินค้า” เพื่อตรวจสอบการใช้ความระมัดระวังของฝ่ายผู้ประกอบการในการออกแบบผลิต และการให้คําแนะนําโดยให้คํานึงถึง วิธีการนําเสนอลักษณะการใช้งานและช่วงเวลาที่นําสินค้าออกสู่ท้องตลาดของผู้ประกอบการth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.114en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectผู้บริโภคth_TH
dc.subjectการคุ้มครองผู้บริโภค--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.titleปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการพิจารณาสินค้าที่ไม่ปลอดภัยตามพระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551th_TH
dc.title.alternativeLegal problems concerning the consideration of unsafe products in the liability for damages arising from unsafe product act B.E. 2551en_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.114en_US
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.114en_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aims to (a) examine the background, concepts, and theories of the principles of liability for damages arising from unsafe products; (b) examine the background, concepts, and theories of liability for damages arising from unsafe products of Thailand; (c) explore the criteria related to consideration of unsafe products of the United States, the European Union, England, Germany, and Japan; (d) compare the principles of unsafe products in Thailand and the United States, the European Union, England, Germany, and Japan; and (e) implement the principles for consideration of unsafe products under the Liability for Damages Arising from Unsafe Products Act (B.E. 2551) of Thailand. This thesis uses a qualitative research methodology based on documentary research conducted using legal textbooks, court judgments, articles, journals, theses, and a variety of online documents, domestic and abroad.According to the results of the study, the criteria for consideration of unsafe products are divided into four principles: consumer expectation, risk and benefit, negligence, and other. In Thailand, the consumer expectation principle is in accordance with samples from the European Union, which are masters of law on liability for damages arising of Unsafe Products Act (B.E. 2551). It is implemented by concentrating on the general consumer expectation principle as the unsafe product. Recommendations for consideration of unsafe products from Thailand should take into account the risk and benefit principle as unsafe product on a partial basis, subject to the conditions of law of the words “product conditions” to inspect the care on the part of the entrepreneurs in designing, manufacturing, and rendering recommendations by taking into account the presentation methods, usage characteristics, and product launching period of the entrepreneurs.en_US
dc.contributor.coadvisorวิมาน กฤติพลวิมานth_TH
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib134133.pdfเอกสารฉบับเต็ม27.11 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons