Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7256
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณา ศิลปอาชา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเกศรินทร์ บ่อทราย, 2531--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-05T02:18:38Z-
dc.date.available2023-07-05T02:18:38Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7256-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) พฤติกรรมการเลือกใช้บริการร้านดอกไม้ ในอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ (2) ระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการใน การเลือกใช้บริการร้านดอกไม้ในอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ (3) ปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อ พฤติกรรมการเลือกใช้บริการร้านดอกไม้ในอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และ (4) ความสัมพันธ์ ระหว่างส่วนประสมการตลาดบริการกับพฤติกรรมการเลือกใช้บริการร้านดอกไม้ในอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ กลุ่มผู้บริโภคที่เช้าใช้บริการร้านดอกไม้ในอำเภอหัวหิน ชังหวัดประจวบคีรีขันธ์จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 400ราย เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้บริโภคส่วนใหญ่ซื้อดอกไม้เพื่อบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในบ้าน ซื้อดอกไม้พร้อมกับธูปเทียน วันละครั้ง ครั้งละ 11-20บาท นิยมซื้อดอกไม้สีชมพูจากร้านดอกไม้เจ้าประจำเป็นผู้ตัดสินใจซื้อดอกไม้จากประสบการณ์ของตนเอง (2) ความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านราคาสำคัญ อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านกระบวนการ ด้านบุคคล ด้านกายภาพ ด้านการส่งเสริมการตลาด และด้านการจัดจำหน่าย ตามลำดับ (3) ผู้บริโภคที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้เฉลี่ยต่อเดือน แตกต่างกันมี ค่าเฉลี่ยของความถี่ในการซื้อดอกไม้แตกต่างกัน และ (4) ส่วนประสมการตลาดบริการโดยภาพรวมมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับพฤติกรรมการเลือกใช้บริการร้านดอกไม้ในระดับมาก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.1 และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านผลิตภัณฑ์มีความสัมพันธ์กับความถี่ในการซื้อดอกไม้ โดยมีความสัมพันธ์เชิงบวกในทิศทางเดียวกัน และด้านช่องทางการจัดจำหน่ายมีความสัมพันธ์กับความถี่ในการซื้อดอกไม้โดยมีความสัมพันธ์เชิงลบในทิศทางตรงกันข้ามth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectดอกไม้--การตลาดth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเลือกใช้บริการร้านดอกไม้ ในอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์th_TH
dc.title.alternativeService marketing mix factors affecting selection of florist shops in Hua Hin District, Prachuap Khiri Khan Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study were (1) to study the selection of florist shops in Hua Hin district, Prachuap Khiri Khan province; (2) to study the important level of service marketing mix factors for the selection of florist shops in Hua Hin district, Prachuap Khiri Khan province; (3) to compare the selection of florist shops in Hua Hin district, Prachuap Khiri Khan province classified by personal factors; and (4) to study the relationship between service marketing mix factors and the selection of florist shops in Hua Hin district, Prachuap Khiri Khan province. The population was customers of florist shops in Hua Hin district, Prachuap Khiri Khan province. The sample was 400 customers. The data was collected by using a questionnaire and was analyzed by using percentage, mean, standard deviation, t-Test, One-way ANOVA and Pearson Correlation Coefficient. The results showed that (1) most customers bought flowers for religion. They bought flowers with incense sticks and candles once a day and spent 11-20 Baht each time. Pink flowers were most popular for buying from the regular shops. Customers made decision by themselves and selected flowers by their own experience; (2) overall service marketing mix factors were important at the high level as price, product, process, personnel, physical, promotion and place were important respectively; (3) customers with different gender, age, educational background and income had different in frequency of purchasing aspect; and (4) overall service marketing mix factors related positively to the selection of florist shops at high level at the statistical significance 0.01. Product related the same direction to the frequency of buying flowers positively while place related different direction to the frequency of buying flowers negatively.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_147905.pdfเอกสารฉบับเต็ม10 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons