Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7380
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorดุสิต เวชกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปวีณา คุตชนม์, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-06T04:29:13Z-
dc.date.available2023-07-06T04:29:13Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7380-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับประสิทธิผลของการนำนโยบายการบริหาร จัดการพื้นที่เกษตรกรรมของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี (2) ศึกษาปัญหา อุปสรรคในการนำนโยบายการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรมของกระทรวงเกษตร และ สหกรณ์ในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี (3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของการนำนโยบายการบริหาร จัดการพื้นที่เกษตรกรรมของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี (4) เสนอแนะ แนวทางและมาตรการในการเพิ่มประสิทธิผลของการนำนโยบายการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรมของ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี ให้สูงขึ้น การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงผสมผสานการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากร คือ 1) บุคลากรในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ที่ปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน 343 คน 2) ผู้บริหารระดับจังหวัด จำนวน 7 คน กลุ่มตัวอย่าง คือ (1) บุคลากร จำนวน 185 คน คำนวณโดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (2) ผู้บริหาร ระดับ จังหวัด จำนวน 3 คนใช้การสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่า ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุแบบขั้นตอน การวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับประสิทธิผลของการนำนโยบายการบริหารจัดการพื้นที่ เกษตรกรรมของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี อยู่ในระดับมาก (2) ปัญหา และ อุปสรรค คือ การจัดสรรงบประมาณไม่เพียงพอ และปัญหาด้านการตลาดของสินค้าเกษตรทำให้เกษตรกร ขาดแรงจูงใจ (3) ปัจจัยด้านบุคคล และปัจจัยการนำนโยบายไปปฏิบัติเป็นปัจจัยมีอิทธิพลเชิงบวก ต่อประสิทธิผลของการนำนโยบายไปปฏิบัติ (4) ข้อเสนอแนะ คือ ควรสนับสนุนทรัพยากรในการนำ นโยบายฯ ไปปฏิบัติให้มีความเหมาะสมและเพียงพอ และควรให้ความสำคัญและส่งเสริมด้านการตลาด ของสินค้าเกษตรเพื่อสร้างแรงจูงใจแก่เกษตรกรเพื่อประสิทธิผลของการนำนโยบายการบริหารจัดการ พื้นที่เกษตรกรรมไปปฏิบัติth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.88en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectนโยบายการเกษตรth_TH
dc.subjectเกษตรกรรม -- การบริหารth_TH
dc.subjectเกษตรกรรม -- การจัดการth_TH
dc.subjectเกษตรกรรม -- ไทย -- สุพรรณบุรีth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของการนำนโยบายการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรมของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ไปปฏิบัติในจังหวัดสุพรรณบุรีth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the effectiveness of policy implementation of the agricultural zoning management in Suphanburi Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: (1) the level of effectiveness in implementing the agricultural zoning management policy in Suphanburi Province; (2) problems and obstacles influencing in implementation of the agricultural zoning management policy in Suphanburi Province; (3) factors affecting the implementation of agricultural zoning management policy in Suphanburi Province; (4) to recommend appropriate approach measures to enhance the effectiveness in implementing agricultural zoning management policy in Suphanburi Province. This research was a mixed method research, including both quantitative and qualitative method. Population were: (1) 343 personnel working for the Ministry of Agriculture and Cooperatives in Suphanburi Province; (2) 7 senior executives for the Ministry of Agriculture and Cooperatives in Suphanburi Province. The sample groups were: (1) 185 officers of the Ministry of Agriculture and Cooperatives in Suphanburi Province calculated by Taro Yamane’s formulation at the confident level at 95 % and selected proportional stratified random sampling method; (2) 3 senior executives were selected by purposive sampling by method. Instruments were questionnaire and an interview form. Quantitative data were analyzed by using percentage, mean, and standard deviation, t-test, and stepwise regression analysis. Qualitative data were analyzed using the content analysis. The results of this research were: (1) an overview of the level of effectiveness in implementing the agricultural Zoning management in Suphanburi Province was at high level; (2) problems were that the budget allocation was not sufficient and the marketing problems of agricultural products caused the farmers to lack of motivation; (3) personal factors and policy implementation were factors that positively influenced the effectiveness in implementing the agricultural zoning management policy in Suphanburi Province at 47.2 %;(4) Recommendations were that government should increase the budget to support and foster the effectiveness of agricultural zoning management and emphasis on the marketing promotion of agricultural products to motivate farmers in enhancing the effectiveness of policy implementation on agricultural zoning managementen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
154695.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.33 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons