Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7456
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorรชพร จันทร์สว่าง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอรจิรา ปาณีนิจ, 2517--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-07T06:08:59Z-
dc.date.available2023-07-07T06:08:59Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7456-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพและรูปแบบกลยุทธ์ในการพัฒนาลักษณะงาน เพื่อสร้างความผูกพันอย่างยั่งยืนของพนักงาน บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด (2) ศึกษาระดับความ ผูกพันอย่างยั่งยืนของพนักงาน บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด (3) ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับ ความผูกพันของพนักงาน บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด และ (4) เสนอแนะกลยุทธ์ในการ เสริมสร้างความผูกพัน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรคือ พนักงาน บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด รวม 2,950 คน คำนวณขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรการสุ่มของทาโร ยามาเน ได้กลุ่มตัวอย่าง 353 คน การ สุ่มตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบ่งกลุ่มหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยใช้แบบสอบถาม การวิเคราะห์ ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่ามัชฌิมและค่าร้อยละ สถิติเชิงอนุมานใช้การทดสอบแบบที และแบบเอฟ ผลการวิจัยพบว่า (1) สภาพและรูปแบบกลยุทธ์การสร้างความผูกพันในการพัฒนาลักษณะงาน เพื่อเสริมสร้างความผูกพันของพนักงานบริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด คือ บริษัทมีการใช้กลยุทธ์ การสร้างความผูกพันอย่างยั่งยืนใน 8 ด้าน ได้แก่ ด้านการมีอิสระในการทำงาน ด้านสภาพแวดล้อมในการ ทำงาน ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน ด้านความสัมพันธ์กับหัวหน้างาน ด้านภาวะความเป็นผู้นำ ด้าน โอกาสในการก้าวหน้า ด้านสวัสดิการและค่าตอบแทนและด้านการติดต่อสื่อสาร (2) ระดับความผูกพันของ พนักงาน บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด มีระดับความผูกพันมากที่สุด (3) ปัจจัยส่วนบุคคลพบว่า พนักงานบริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด ที่มีเพศและอายุแตกต่างกันมีระดับความผูกพันต่อองค์การ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนลักษณะบุคคลด้านสถานภาพสมรสและระดับการศึกษา ที่แตกต่างกัน มีระดับความผูกพันต่อองค์การไม่แตกต่างกัน ส่วนปัจจัยด้านลักษณะงานทั้ง 8 ด้าน พบว่า พนักงานบริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด ที่มีระดับการยอมรับในลักษณะงานทั้ง 8 ด้าน แตกต่างกัน มีระดับความผูกพันต่อองค์การอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (4) แม้ว่าพนักงานจะมีระดับความ ผูกพันในระดับมาก แต่กลยุทธ์การสร้างความผูกพันยังไม่สัมพันธ์กับปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศและอายุ ดังนั้น ควรมีกลยุทธ์อื่นที่จะช่วยสร้างเสริมให้พนักงานทุกเพศและทุกกลุ่มอายุมีระดับความผูกพันต่อองค์การสูงขึ้น โดยแนะกิจกรรมด้านสันทนาการth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด -- พนักงาน -- ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth_TH
dc.titleกลยุทธ์การเสริมสร้างความผูกพันต่อองค์การอย่างยิ่งยืนของพนักงานบริษัทวิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัดth_TH
dc.title.alternativeStrategies for enhancing sustainable commitment of staff at The Aeronautical Radio of Thailand Limited Companyth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: (1) to study state and strategic patterns to develop quality of work for enhancing sustainable commitment of staff at The Aeronautical Radio of Thailand Limited Company (2) to study levels of commitment of staff at The Aeronautical Radio of Thailand Limited Company (3) to study factors related to commitment of staff at The Aeronautical Radio of Thailand Limited Company and (4) to suggest strategies for enhancing sustainable commitment. The sample consisted of 2,950 staff at The Aeronautical Radio of Thailand Limited Company, obtained by multi-stage sampling, yielding 353 persons which calculated by using Taro Yamane Formula. A constructed questionnaire was used as a tool to collect data. The statistics for content analyses were mean and percentage, and those for inferential statistical analysis were t-test, F-test. Research findings were as follows: (1) state and strategic patterns to develop quality of work consisted of 8 factors: the freedom for work, working environment, relations of workmate and boss, leadership, advancement, payment and welfare, communication (2) the sustainable commitment of staff at The Aeronautical Radio of Thailand Limited Company was at the highest-level (3) as for personal factors, it was found that employees with different ages and genders had different sustainable engagement, with a statistical significance at the level of 0.05. However, employees with different marital status and levels of education had no different sustainable engagement. As for the factor on the characteristics of works in 8 aspects, it was found that the employees had different levels of acceptance, with a statistical significance at the level of 0.05 and (4) although employees had a high level of sustainable commitment, the strategy to build sustainable commitment was not related to personal factors on genders and ages. Therefore, there should be other strategies that enhance employees of all genders and ages for a high level of sustainable commitment, for example, recreational activitiesen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
156661.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.34 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons