กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7461
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ณรงค์ศักดิ์ บุญเลิศ | th_TH |
dc.contributor.author | จันทร์ทิพย์ เฟื้อแก้ว, 2517- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-07T06:21:53Z | - |
dc.date.available | 2023-07-07T06:21:53Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7461 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความคิดเห็นของผู้ใช้บริการที่มีต่อการบริการ (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้ใช้บริการที่มีต่อการบริการ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) เสนอแนะเพื่อการปรับปรุงการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลวาเล่ย์ อำเภอพบพระ จังหวัดตาก ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ประชาชาชนที่มีอายุ 18 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป ที่มาใช้บริการในหน่วยงานต่างๆ ขององค์การบริหารส่วนตำบลวาเล่ย์ จำนวน 6,082 คน กำหนดกลุ่ม ตัวอย่าง โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบมีชั้นภูมิ ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 345 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถามซึ่งมีค่าความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์ สถิติที่ใชัในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้มาใช้บริการส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 26 - 33 ปี สถานภาพสมรส จบการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ประกอบอาชีพเกษตรกรรม รายได้ต่อเดือนไม่เกิน 5,000 บาท ผู้ใช้บริการส่วนใหญ่ใช้บริการ จำนวน 4-6 ครั้ง โดยรู้จักกับเจ้าหน้าที่ที่ให้บริการ และใช้บริการงานด้านสิ่งอำนวยความสะดวกมากที่สุด 2) ความคิดเห็นของผู้ใช้บริการ ต่อการให้บริการด้านการมีระบบงานที่ดี ด้านการให้บริการของเจ้าหน้าที่ ด้านสถานที่ที่ให้บริการ ด้านอุปกรณ์สิ่งสนับสนุนการให้บริการ ด้านการประชาสัมพันธ์ข่าวสารและการบริการข้อมูลโดย ภาพรวมทุกด้านมีศักยภาพอยู่ในระดับสูง และการศึกษาผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้ใช้บริการ พบว่า ระดับการศึกษา การประกอบอาชีพ จำนวนครั้งในการติดต่อราชการ และประเภทงาน ที่ใช้บริการ แตกต่างกัน มีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 (3) ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงการให้บริการ คือ ปรับปรุงการบริหารจัดสรรงบประมาณ และการบริหารจัดการ ด้านการซ่อมแซมเครื่องจักรและอุปกรณ์ รวมทั้งเจ้าหน้าที่ที่ให้บริการควรใช้วาจาที่สุภาพและให้เกียรติแก่ผู้ใช้บริการ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | องค์การบริหารส่วนตำบลวาเลย์--ไทย--ตาก | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.title | ความคิดเห็นของใช้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลวาเลย์ อำเภอพบพระ จังหวัดตาก | th_TH |
dc.title.alternative | Customer's opinion on the services of Valley Sub-District Administrative Organization, Pob Pra District, Tak Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were : 1) to study the level of customer ‘s opinion on the services of Valley Sub District Administrative Organization, Pob Pra, District , Tak Province 2) to compare customer ‘s opinion on the services classified by personal factors , and 3) to recommend how to improve the services of Valley Sub District Administrative Organization , Pob Pra District , Tak Province Population used in this study was the people with at last 18 years old from 6,082 who received services from various department of the organization. Samples comprise 345 from the mentioned people by stratified sampling. Statistical tool employed was a questionnaire with 0.95 % in level of confidently. The descriptive statistics used for analyzing data were percentage , mean , standard deviation , t - test , and Analysis of Variance. The study revealed that 1) almost of the customers were women , aged between 26-33 years old , married , lower than Bachelor’s degree , agriculturists. with income no more than 5000 Baht. Then the customers were at the office 4-6 times by getting the services from the known officials and most using facility services,2) the customer’s overall opinions on the good work system , staff ‘s service, service location , service equipment , public relations and information service were service at the high level. When comparing the customer’s opinions , it was found that the customers with different education ,occupation , number of official communication , and service type had different opinions with .05 level of significant ; and 3) the recommendation for improving the services were improvement the budget management , reconstruction of the equipments. And machines Moreover , the officials should be polite and be respected to the customers. | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Manage-Independent study |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
fulltext_128635.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 8.63 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License