Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7469
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorราณี อิสิชัยกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorมนตรี พิริยะกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorลาวัณย์ บรรเจิดรุ่งขจร, 2507--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-07T07:41:08Z-
dc.date.available2023-07-07T07:41:08Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7469-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาองค์การแห่งการเรียนรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ภาวะผู้นำและความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจส่งออกไทย (2) วิเคราะห์อิทธิพลภาวะผู้นำ ในฐานะ ปัจจัยคั่นกลางที่ถ่ายทอดอิทธิพลขององค์การแห่งการเรียนรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่ความสามารถใน การแข่งขันของธุรกิจส่งออกไทย การวิจัยนี้เป็นงานวิจัยแบบผสมวิธี ประชากรเป็นผู้ประกอบการในธุรกิจส่งออกที่จด ทะเบียนกับสภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย ปี พ.ศ. 2560-2561 จำนวน 1,723 ราย กำหนดขนาด กลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีของ Marsh et al (1998) ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการ วิจัยคือ แบบสอบถาม โดยได้รับแบบสอบถามตอบกลับ จำนวน 110 ราย การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าสถิติ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธ์ิความผันแปร และวิเคราะห์สมการ โครงสร้าง ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลหลักเป็นผู้บริหารและนักวิชาการจำนวน 11 รายจาก 10 องค์การ เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) ธุรกิจส่งออกไทย มีระดับปัจจัยด้านองค์การแห่งการเรียนรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ภาวะผู้นำ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ส่วนระดับความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจ ส่งออกไทยอยู่ในระดับปานกลาง 2) ปัจจัยด้านองค์การแห่งการเรียนรู้ และปัจจัยด้านเทคโนโลยีและ นวัตกรรม มีความสัมพันธ์ทางตรงและร่วมกันอธิบายความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจส่งออกไทย ได้ร้อยละ 64.7 เมื่อวิเคราะห์ปัจจัยภาวะผู้นาในฐานะปัจจัยคั่นกลางที่ถ่ายทอดอิทธิพลของปัจจัยด้าน องค์การแห่งการเรียนรู้ ปัจจัยด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมพบว่า ร่วมกันอธิบายความสามารถในการ แข่งขันธุรกิจส่งออกไทยได้เพิ่มขึ้น เป็นร้อยละ 67.3 ผลวิเคราะห์เชิงคุณภาพจากการสัมภาษณ์เชิงลึกได้ ยืนยันผลเชิงปริมาณและมีความสอดคล้องกันทั้งหมด ทั้งยังได้ค้นพบตัวแปรอื่นๆ นอกเหนือจากกรอบ การวิจัยที่มีความสัมพันธ์และอิทธิพลต่อความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจส่งออก ได้แก่ วัฒนธรรม องค์การ ทุนทางสังคมและทุนมนุษย์ขององค์การ ประสบการณ์ของผู้ส่งออก การแทรกแซงของ เทคโนโลยีสมัยใหม่ การมีเครือข่าย และการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้ส่งออกth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectภาวะผู้นำth_TH
dc.subjectการส่งออก -- ไทยth_TH
dc.subjectอุตสาหกรรมการส่งออก -- ไทยth_TH
dc.subjectการบริหารองค์ความรู้th_TH
dc.titleภาวะผู้นำในฐานะปัจจัยคั่นกลางที่ถ่ายทอดอิทธิพลขององค์การแห่งการเรียนรู้เทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่ความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจส่งออกไทยth_TH
dc.title.alternativeLeadership as a mediator of learning organization, technology and innovation influencing competitiveness of Thai exporting businessth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาเอกth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed (1) to study Learning Organization (LO), Technology & Innovation (T&I), Leadership (LS), and Competitiveness of Thai Exporting Business (CEB); and (2) to analyze the impact of Leadership, as a Mediator of Learning Organization, Technology & Innovation influencing Competitiveness of Exporting Business in Thailand. It was a survey research with mixed methods, both quantitative and qualitative methodologies were employed for data-collections and analyses. The population was 1,723 firms from top ten major industries, listed in the Directory of Thai National Shippers’ Council issued of 2017-2018. Samples were acquired through stratified random sampling, as per Marsh et al (1998) approach. Questionnaires were the tool for collecting quantitative data in which frequency, percentage, mean, standard deviation, co-efficient of variation, and structural equation modelling were means of statistical analysis. Questionnaires were distributed twice to these randomly selected samples; whilst 110 Self-Administered Questionnaires (SAQ) returned. For qualitative analysis, in-depth interviews were conducted with 11 executives and experts from 10 reputable organizations, and the content analysis was used to analyze qualitative data. The results indicated that the mean of (1) Learning Organization ( LO), Technology & Innovation (T&I), and Leadership (LS) of Thai Exporting Business (CEB) were at a high level; while Competitiveness of Thai exporting firms was at a moderate or mid-level. (2) Learning Organization and Technology and Innovation of Thai Exporting Business had a direct relationship with competitiveness and jointly explained competitiveness as of 64.7 percent. Leadership (LS) was found as a Mediator of Learning Organization, Technology & Innovation influencing Competitiveness of Thai Exporting Business and increasingly explained competitiveness of 67.3 percent. The qualitative data analysis confirmed quantitative research findings and they implemented each other, in terms of affirmation that Leadership (LS) affected competitiveness both directly and indirectly. The result also revealed other important factors such as: organizational culture, social and human capital of organization, exporters’ experience, technology disruption, networking, and life-long learning also had influence on the competitiveness of Thai Exporting Business. These factors should be addressed, either as variables in causation network or as a mediator(s) depended upon literatures or sequential exploratory analysis supporten_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
159487.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.28 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons