Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7483
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวุฒิชาติ สุนทรสมัยth_TH
dc.contributor.authorสุภาพ วงศ์อรุณนิยม, 2506-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-10T03:32:07Z-
dc.date.available2023-07-10T03:32:07Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7483en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาทัศนคติของผู้ปกครองที่มีต่อการส่งบุตรหลานเข้าเรียนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานคร โดยมีขอบเขตการศึกษาทัศนคติของผู้ปกครองในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในด้านทัศนคติที่มีต่อการส่งบุตรหลานเข้าเรียนพิเศษในด้านพฤติกรรมของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าเรียนพิเศษ ในด้านปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกโรงเรียนสอนพิเศษ ในด้านความพึงพอใจของผู้ปกครองที่มีต่อปัจจัยที่มีอิทธิพลต่าง ๆ ในด้านความคาดหวังของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าเรียนพิเศษ และในด้านการกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาดที่เหมาะสมสำหรับธุรกิจการสอนพิเศษกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้ปกครองนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 99 ราย ผู้ปกครองชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 93 ราย ผู้ปกครองนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 96 ราย ผู้ปกครองชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 94 ราย ผู้ปกครองนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 100 ราย และผู้ปกครองนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 101 ราย รวมจำนวนทั้งสิ้น 583 ราย ผลการศึกษาพบว่าผู้ปกครองมีทัศนคติที่ดีต่อการเรียนพิเศษและเห็นว่ามีความจำเป็นในการส่งบุตรหลานเข้าเรียนพิเศษ ผู้ปกครองให้ความสำคัญการเรียนพิเศษทั้งในด้านวิชาการและสันทนาการ โดยการให้ความสำคัญในด้านวิชาการจะสูงขึ้นตามระดับชั้นเรียนที่สูงขึ้นและผู้ปกครองส่วนใหญ่ส่งบุตรหลานเข้าเรียนพิเศษต่อเนื่องมากกว่า 1 ปี นิยมส่งบุตรหลานเข้าเรียนพิเศษในวันหยุดสุดสัปดาห์ ทั้งในช่วงเปิดภาคเรียนและปิดภาคเรียน โดยส่วนใหญ่มีการส่งบุตรหลานเข้าเรียนพิเศษทั้งด้านวิชาการและสันทนาการควบคู่กันปัจจัยหลักที่มีอิทธิพลในการเลือกโรงเรียนสอนพิเศษของผู้ปกครอง ได้แก่ ปัจจัยด้านตัวผลิตภ้ฌฑ์และปัจจัยด้านการจัดจำาหน่าย ปัจจัยด้านราคาค่าเล่าเรียนและรูปแบบการชำระเงินและปัจจัยด้านการส่งเสริมการขายผู้ปกครองมีความคาคหวังจากผลของการเรียนพิเศษในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectนักเรียนประถมศึกษาth_TH
dc.subjectผู้ปกครองนักเรียน--ทัศนคติth_TH
dc.titleทัศนคติของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าเรียนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeParents' attitude towards extra classes tuition for their children in Bangkoken_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the Parents’ Attitude towards extra classes tuition for their children in Bangkok where the focus of the study were Parents of primary level (Primary 1 to Primary 6) or Pratomsuksa 1 to Pratomsuksa 6; (2) to study Parents’ behavior in sending their children for extra classes; (3) to study influential factors affecting parents’ decision on extra classes selection; (4) to studythe satisfactions of parents upon influential factors affecting their decisions; (5) to study parental anticipations as a result of extra classes attainment; and (6) to find out an appropriate Marketing Strategy suitable for extra classes tuition business. The sample of the study consisted of 583 parents which were divided into six groups; 99 parents in Primary 1, 93 parents in Primary 2,96 parents in Primary 3, 94 parents in Primary 4,100 parents in Primary 5 and 101 parents in Primary' 6 by Non - Probability Accidental Sampling. The data were collected by using the questionnaires (Rating Scale). The percentage, mean, standard deviation and correlation were used for data Analyzed through SPSS The study revealed that (1) Parents have positive attitude towards Extra Classes tuition and most parents think that it is necessary to send their children for extra Classes. Parents put more attention on academic curriculum subjects rather than non - academic curriculum subjects where the focus would be stronger when there children approaching higher primary level. (2) Most parents send their children to attend extra classes continuously for the period of more than one year and prefer their children to have classes during weekend for both academic and non academic subjects. Parents have high level of anticipation. Product Price Place and Promotion should be considered as important factors for extra classes tuition business.en_US
dc.contributor.coadvisorเสาวภา มีถาวรกุลth_TH
dc.contributor.coadvisorวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545th_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
77124.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.67 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons