Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7552
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบth_TH
dc.contributor.authorสมเกียรติ แสงรุ่ง, 2496-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-11T08:14:51Z-
dc.date.available2023-07-11T08:14:51Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7552en_US
dc.description.abstractการศึกษาเรื่อง ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานชองข้าราชการกรมที่ดิน มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คึอ (1) เพี่อศึกษาระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมที่ดินที่ปฏิบัติงาน ในภาคใต้ (2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพนธ์กับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการ กรมที่ดินในภาคใต้ (3) เพื่อเสนอแนวทางเสริมสร้างความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการต่อกรมที่ดิน กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้เป็นข้าราชการกรมที่ดินที่ปฏิบัติงานอยู่ในจังหวัด นครศรีธรรมราช พัทลุง ตรัง กระบี่ และพังงา จำนวน 460 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่มีลักษณะเป็นมาตรประมาณค่าแบบลิเคิร์ท และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบแบบเอฟ การทดสอบแบบท การทดสอบด้วยวิธีการเชฟเฟ่ วิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS/FW ผลการวิจัยพบว่า ข้าราชการกรมที่ดินมีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานโดยรวมอยู่ใน ระดับปานกลาง แต่เมื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแต่ละด้านพบจำด้านที่มีระดับความพึงพอใจสูงมีอยู่ 3 ด้าน เรียงตามลำดับดังนี้ ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน ด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติ และด้านการปกครองบังคับบัญชา ด้านที่มีระดับความพึงพอใจปานกลาง มีอยู่ 4 ด้านเรียงตามลำดับ ดังนี้ ด้านความมั่นคงและความก้าวหน้า ด้านนโยบายและการบริหาร ด้านสิ่งแวดลัอมที่ทำงาน และด้านเงินเดือนและสวัสดิการ สำหรับปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของข้าราชการ พบว่า ข้าราชการที่มีอายุ สถานภาพสมรส ระดับตำแหน่ง และช่วงของเงินเดึอนที่แตกต่างกันจะมีผลต่อความพึงพอใจที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนเพศ ระดับการศึกษา ระยะเวลาที่ปฏิบัติงาน สายงาน และ ที่ตั้งของสถานที่ทำงานที่แตกต่างกัน ไม่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความพอใจในการทำงาน--ไทย (ภาคใต้)th_TH
dc.titleความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมที่ดิน ศึกษาเฉพาะกรณีข้าราชการกรมที่ดินในภาคใต้th_TH
dc.title.alternativeJob satisfaction of government offcers the case study of department of lands in the southern part of Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe study of job satisfaction of Government Officers has three objectives,(1) to study the level of job satisfaction of Government officers of Land Department in the southern part of Thailand. (2) to study the factors which have the relation with job satisfaction of Government officers of Land Department in the southern part of Thailand, and (3) to build up the guidelines for job satisfaction of Government officers of Land Department in the Southern Part of Thailand. The amount of 460 Government officers of Land Department working in Nakomsrithamarat, Phattalung, Trang, Krabi and Phangnga Provinces were the sample sizes for study, data gathering by questioniares with reliability level at .95. SPSS/FW computer program was used to calculate the percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test, Scheffe’s test and ANOVA. The results of the study show that: government officers of Land Department were found to be satisfied with their job at a moderate level. When the invidual components were considered, the three most satisfactory was the relationship with their colleagues, followed by the job characteristic and job supervision. The four moderate level were job security and advancement, policy and administration, working environment and salary and welfare respectively. The factors found to affect their job satisfaction were age, marital status, work position, different salary, In contrast, sex education, number of working years, line of work and the office’s site were found that no effect to job satisfaction.en_US
dc.contributor.coadvisorสุขุมาลย์ ชำนิจth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
77169.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.62 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons