Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/766
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจุฑามาส ศรีจำนงค์-
dc.date.accessioned2022-08-18T10:32:33Z-
dc.date.available2022-08-18T10:32:33Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.citationวารสารศึกษาศาสตร์ ปีที่ 10, ฉบับที่ 1 (ม.ค.- มิ.ย. 2560), หน้า 126-144th_TH
dc.identifier.issn1905-4653-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/766-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัดถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกยาสมรรถภาพการทำวิจัยในชั้นเรียนและแนวทางการพัฒนาสมรรถภาพการทำวิจัยในชั้นเรียน 2) พัฒนารูปแบบการเสริมสร้างสมรรถภาพการทำวิจัยในชั้นเรียน 3) ทดลองใช้รูปแบบการเสริมสร้งสมรรถภาพการทำวิจัยในชั้นเรียน และ 4) ประเมินผลการ ใช้รูปแบบการเสริมสร้างสมรรถภาพการทำวิจัยในชั้นเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษาสมรรถภาพการทำวิจัยใบชั้นเรียน ได้แก่ นักศึกษา ชั้นปี 34 คณะครุศาสตร์ จำนวน 286 คน ได้มาโดยการชุ่มแบบแบ่งชั้น ผู้ให้ข้อมูลสำคัญในการศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถภาพการทำวิจัยในชั้นเรียน ได้แก่ อาจารย์ผู้สอนวิจัย อาจารย์นิเทศ และนักศึกษา จำนวน 31 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง ผู้ทรงคุณวุฒิที่ใช้ตรวจสอบรูปแบบจำนวน 5 คน ผู้ให้ข้อมูลสำคัญในการทดลองใช้และประเมินผลการใช้รูปแบบ ได้แก่ นักศึกษาจำนวน 30 คน อาจารย์ที่ปรึกยา ครูพี่เลี้ยงและผู้บริหารโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย รูปแบบการเสริมสร้างสมรรถภาพการทำวิจัยในชั้นเรียน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบทดสอบความรู้ แบบประเมินทักษะ แบบวัดเจตคดิแบบสัมภาษณ์ ประเด็นการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ โดยการวิเคราะห์ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบ Wicoxon signcd- ranks 1est วิเคราะห์ ข้อมูลชิงคุณภาพ โดยการวิคราะห์เนื้อหาผลการวิจัย พบว่า 1) นักศึกษามีสมรรถภาพค้านความรู้และสมรรถภาพค้านเจตคติต่อการทำวิจัยในชั้นรียนอยู่ในระดับปานกลาง และมีสมรรถภาพค้านทักษะการทำวิจัยในชั้นเรียนอยู่ในระดับน้อย แนวทางการพัฒนาสมรรถภาพการทำวิจัยในชั้นเรียน ได้แก่ จัดอบรมให้ความรู้ ฝึกปฏิบัติในสถานการณ์จริงมีที่ปรึกษาหรือพี่เลี้ยงให้คำแนะนำ 2) รูปแบบการเสริมสร้างสมรรถภาพการทำวิจัยใบชั้นเรียน ประกอบด้วย (1) หลักสูตรการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ "การทำวิจัยในชั้นเรียน" (2) การให้คำแนะนำและอำนวยความสะดวก (3) การสร้างเครือข่ายร่วมฝึกประสบการณ์การทำวิชัยในชั้นเรียน 3 ) ศึกษามีความรู้และทักษะในการทำวิจัยใบชั้นเรียนหลังพัฒนาสูงกว่าก่อนพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และเกิดเจตคติที่ดีต่อการทำวิจัยในชั้นเรียน และ 4) นักศึกษาและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเกิดความร่วมมือในการทำวิจัยในชั้นเรียน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความพึงพอใจต่อการใช้รูปแบบการเสริมสร้งสมรรถภาพการทำวิจัยในชั้นเรียน รูปแบบมีความเหมาะสมและเป็นประโยชน์th_TH
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.subjectการศึกษา -- วิจัยth_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างสมรรถภาพการทำวิจัยในชั้นเรียนสำหรับนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลยth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of a classroom research competency building model for Students in Faculty of Education, Loci Rajabbat Universityth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to 1) study classroom research competency and guidelines for developing classroom research competency; 2) develop a classroom research competency building model; 3) experiment the classroom research competency building model; and 4 )evaluate results of using the classroom research competency building model. The sample in this study included various groups of people.In studying classroom research competency, 286 third and fourth-year students, obtained by stratified random sampling were involved; in studying guidelines for developing classroom research competency, 31 key informants including a lecturer, mentor teachers, and student teachers were purposively selected; in verifying the model, 5 experts were used;in experimenting the model,30 students, advisers, mentor teachers, and school administrators, obtained by purposive random sampling were participated. The research tools were a knowledge test, a skill evaluation form, scales to assess attitudes, an interview form, and a focus group discussion form. Quantitative data were analyzed by using the frequency, percentage, mean, standard deviation, and the Wilcoxon signed- ranks test. Qualitative data were analyzed by using content analysis. The results revealed that 1) the students’ knowledge about classroom research, and attitudes on conducting classroom research were at the moderate level; moreover, their skills in conducting research were at the low level, guidelines for developing the classroom research competency included training , providing handson experience, and assigning advisors or mentors; 2) the classroom research competency building model consisted of (1) a training course on “Conducting a Classroom Research”,(2) a coaching and mentoring process, and (3) building a collaborative research network; 3) knowledge and skills in classroom research of the students after training were significantly higher than before training at the .05 level, the students also had positive attitudes towards conducting research; 4) the students, and the people involved worked collaboratively, satisfied with the developed model, and agreed that the model was appropriate and usefulen_US
Appears in Collections:STOU Education Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
44340.pdfเอกสารฉบับเต็ม493.05 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons