Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7678
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุนา สุทธิเกียรติ | th_TH |
dc.contributor.author | วราลี รุ่งเรืองกนกกุล, 2519- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-13T07:18:52Z | - |
dc.date.available | 2023-07-13T07:18:52Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7678 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ลักษณะส่วนบุคคลของพนักงานในกลุ่ม บริษัท ลากูน่า รีสอร์ท แอนด์ โฮเท็ล จำกัด (มหาชน) สำนักงานกรุงเทพฯ (2) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพของพนักงานที่เป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (3) ปัจจัยที่มีผลต่อการไม่สมัครเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ของพนักงานที่ไม่สมัครเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ และ (4) ความแตกต่างของลักษณะส่วนบุคคลระหว่างพนักงานที่สมัครเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ และพนักงานที่ไม่สมัครเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ พนักงานในกลุ่มบริษัท ลากูน่า รีสอร์ท แอนด์ โฮเท็ล จำกัด (มหาชน) สำนักงานกรุงเทพฯ จำนวน 90 คน โดยการใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติการวิเคราะห์ คือ ค่าความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ความแตกต่างของลักษณะส่วนบุคคล ระหว่างพนักงานที่สมัครเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ และ พนักงานที่ไม่สมัครเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ โดยใช้สถิติการวิเคราะห์ คือ ค่าเอฟ-เทสต์ และ ค่าที-เทสต์ ผลการศึกษาพบว่า (1) พนักงานส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 30-39 ปี สถานภาพโสด มี การศึกษาระดับปริญญาโท อายุการทำงาน 5 ปี ขึ้นไป ทำงานในระดับปฏิบัติการ อัตราเงินเดือน 20,001- 40,000 บาท (2) พนักงานที่สมัครเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพในระดับมาก บริษัทมีความมั่นคง มีสวัสดิการที่ดีแก่พนักงาน เชื่อมั่นในองค์กร (3) พนักงานที่ไม่สมัครเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพมีการวางแผนด้านรายได้สำหรับการเกษียณด้วยรูปแบบอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า และ (4) พนักงานที่มีการศึกษาระดับปริญญาเอกไม่สมัครเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพมากกว่าพนักงานที่มีการศึกษาระดับปริญญาโท | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | บริษัทลากูน่ารีสอร์ทแอนด์โฮเท็ลจำกัด (มหาชน) สำนักงานกรุงเทพฯ--พนักงาน | th_TH |
dc.subject | กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.title | ปัจจัยในการไม่สมัครเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพของพนักงานในกลุ่มบริษัทลากูน่า รีสอร์ท แอนด์ โฮเท็ล จำกัด (มหาชน) สำนักงานกรุงเทพฯ | th_TH |
dc.title.alternative | Factors against the employees applying for a membership at Bangkok Branch of the provident fund, Laguna Resorts & Hotels Company Group PCL | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This study aimed (1) to study personal data of employees at Bangkok Branch of Laguna Reosrts & Hotels Company Group PLC; (2) to enhance the members’ knowledge about the Provident Fund; (3) to identify the factors against applying for a membership of the employees who were not willing to be members of the Provident Fund; and (4) to study the differences of personal data between the members and the non-members of the Provident Fund. Population was 90 employees working at Bangkok Branch of Laguna Resorts & Hotels Company Group PLC. The data was collected by using questionnaires and was analyzed by using descriptive statistics in terms of percentage, mean, standard deviation. T-test and F-test were applied for the analysis of personal data between the members and the non-members of the Provident Fund. The results showed that (1) most of the employees were single female, aged between 30 and 39, with Master degrees for their educational background. They had working experiences more than 5 years at the operational level with salaries between 20,001 and 40,000 THB; (2) the members had the knowledge about the fund in high level. They regarded the company as a well established firm which providing a good welfare and they were also confident of the company’s success; (3) the non-members had different financial plans for their retirement which provided higher benefits; and (4) the employees with doctoral degrees applied for a membership of the Provident Fund less than the employees with master degrees. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
130669.pdf | 11.28 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License