Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7684
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวราภรณ์ โปตะวัฒน์, 2524-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-13T07:38:26Z-
dc.date.available2023-07-13T07:38:26Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7684-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัดถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของบริษัท ทริปเปีลที บรอดแบนค์ จำกัด (มหาชน) (2) เปรียบเทียบลักษณะส่วนบุคคลที่มีต่อความเป็นองค์การแห่งการ เรียนรู้ของบริษัท ทริปเปิลที บรอดแบนด์ จำกัด (มหาชน) (3) เสนอแนะแนวทางในการเสริมสร้างองค์การแห่ง การเรียนรู้บริษัท ทริปเปีลที บรอดแบนค์ จำกัด (มหาชน) การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ พนักงานบริษัท ทริปเปีลทีบรอดแบนด์ จำกัด (มหาชน) สำนักงานใหญ่ จำนวน 128น โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ และใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และเปรียบเทียบความ แตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีเชฟเฟ ผลการศึกษาพบว่า (1) สภาพการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ตามการรับรู้ของพนักงานบริษัททริปเปีลที บรอดแบนด์ จำกัด (มหาชน) สำนักงานใหญ่ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาปัจจัยรายด้าน สามารถเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านการเรียนรู้ของทีม ด้านความรอบรู้แห่งตน ด้านความคิด เชิงระบบ ด้านแบบแผนความคิด และด้านวิสัยทัศน์ร่วม (2) ผลการทคสอบสมมติฐาน พบว่า พนักงานบริษัท ทริปเปิลที่ บรอดแบนด์ จำกัด (มหาชน) สำนักงานใหญ่ มีการรับรู้สภาพการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ในแต่ละ ด้านแตกต่างกัน ลักษณะส่วนบุคคลของพนักงานที่แตกต่างกัน ซึ่งจำแนกตามด้าน เพศ อายุ ตำแหน่งหน้าที่ และ หน่วยงานที่สังกัด/ฝ่าย มีความคิดเห็นต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ไม่แตกต่างกัน ยกเว้นด้านระดับการศึกษา ที่มีความคิดเห็นต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 (3) ข้อเสนอแนะในการเสริมสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ของบริษัท ทริปเปิลที บรอดแบนด์ จำกัด (มหาชน) ได้แก่ ควรสนันสนุนการฝึกอบรมและพัฒนาทักษะอย่างต่อเนื่องโดยมีเทคโนโลยีช่วยสนับสนุนการเรียนรู้ และส่งเสริม กิจกรรมแลกเปลี่ยนประสบการณ์และถ่ายทอดความรู้ เพื่อให้เกิดปฏิสัมพันธ์ ติดต่อสื่อสารกันระหว่างหน่วยงาน และเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างกันและกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการเรียนรู้องค์การth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของบริษัท ทริปเปิลที บรอดแบนด์ จำกัด (มหาชน)th_TH
dc.title.alternativeLearning organization of Triple T Broadband Public Company Limiteden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study were (1) to study characteristics of the learning organization of Triple T Broadband Public Company Limited; (2) to compare the personal characteristics affecting the learning organization of Triple T Broadband Public Company Limited; and (3) to recommend the ways to develop the learning organization of Triple T Broadband Public Company Limited. The study was a survey research. The samples were 128 employees working at the head office of Triple T Broadband Public Company Limited selected by using stratified ramdom sampling method. Questionnaires were utilized for data collection. The data was analyzed by using descriptive statistics including frequency, percentage, mean, standard deviation and inferential statistics including t-test, one way analysis of variance and scheffe’s method. The results showed that (1) the overall characteristics of the learning organization perceived by the employees at head office of Triple T Broadband Public Company Limited were at a high level as well as team learning, personal mastery, system thinking, mental models and shared vision factors were averaged in descending order by employees’ perception; (2) the employees at head office perceived the learning organization of Triple T Broadband Public Company Limited differently in each factor. The employees with different gender, age, working position, and department had no different opinion in the learning organization while the employees with different educational level had different opinion in the learning organization at the statistically significant 0.05 level; (3) the recommendations to develop the learning organization of Triple T Broadband Public Company Limited were that the management should continue supporting the training and skill development by applying technology for learning. Providing exchange learning activities in order to enhance the organizational relationship was also importanten_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
134761.pdf9.18 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons