Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7685
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธนา ธรรมเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกัญญาวีร์ จินตนากาญจน์, 2517-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-13T07:41:32Z-
dc.date.available2023-07-13T07:41:32Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7685-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมการเรียนเบเกอรี่ของผู้บริโภค (2) ศึกษาความคิดเห็นของผู้บริโภคเกี่ยวกับปัจจัยส่วนประสมการตลาดของโรงเรียนสอนทำเบเกอรี่ และ (3) เปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริโภคเกี่ยวกับปัจจัย ส่วนประสมการตลาดของโรงเรียนสอนทำเบเกอรี่ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรคือ ผู้ที่เคยเรียนเบเกอรี่หรือผู้สนใจเรียนเบเกอรี่ ซึ่งไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของดับบลิว จีคอร์เกรน ที่มีค่าความเชื่อมันร้อยละ 95 ได้จำนวน 385 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบตามสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมคือ แบบสอบถามออนไลน์จากโปรแกรม Google Form โดยส่งข้อมูล ไปทางสื่อออนไลน์เฟสบุ๊ค ห้องเพสต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเบเกอรี่ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิง พรรณนา ได้แก่ความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 31 –45 ปี มีอาชีพเป็นพนักงาน บริษัทเอกชน การศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรีมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 25,000 บาท (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เคยผานหลักสูตรเบเกอรี่ขั้นพื้นฐานแล้ว เหตุผลที่มาเรียนเพื่อทำรับประทานเองภายในครอบครัว โดย เรียนเป็นกลุ่ม 2-4 คน ค่าเรียน 1,001-3,000 บาทต่อหลักสูตร ชอบเรียนในวันเสาร์-อาทิตย์ หาข้อมูล โรงเรียนสอนทพเบเกอรี่ จากโซเชียลมีเดีย เช่น เว็บไซต์/เฟสบุ๊ค/แอพพลิเคชั่น (2) ผู้บริโภคให้ ความสำคัญต่อส่วนประสมการตลาดโดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด โดยให้ความสำคัญต่อปัจจัยด้านกระบวนการมากที่สุด รองลงมาเป็นด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ด้านบุคลากร ด้านราคา ตามลำดับ และ (3) ผู้บริโภคที่มีรายได้ต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยส่วนประสมการตลาดของโรงเรียนสอนทำเบเกอรี่ทุกด้าน แตกต่างกัน ยกเว้นสถานภาพสมรสแตกต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยส่วน ประสมการตลาดของโรงเรียนสอนทำเบเกอรี่ทุกด้านไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectอุตสาหกรรมเบเกอรีth_TH
dc.subjectเบเกอรี--การตลาดth_TH
dc.titleความคิดเห็นของผู้บริโภคเกี่ยวกับปัจจัยส่วนประสมการตลาดของโรงเรียนสอนทำเบเกอรี่th_TH
dc.title.alternativeConsumer opinions on marketing mix factors of baking schoolen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this independent study were: (1) to study learning behavior in baking school of consumers; (2) to study consumer opinions on marketing mix factors of baking school; and (3) to compare personal factors and the opinions of consumer on marketing mix factors of baking school. The study was a survey research. The unknown population was the former bakery students or the bakery interests. The sample size was calculated by using W.G. Gorchran formula at the confidence level of 95% as a total of 385 people, selected by using convenience-sampling method. An on-line questionnaire created by Google Form program was used to collect data, and was on-line distributed via either Facebook or several bakery pages. Descriptive statistics used for data analysis included frequency, percentage, mean and standard deviation. Inferential statistics by one way ANOVA was used for investigating the independent samples t-test, F-test. The result of study found that: the majority of the respondents were female with average age between 31 – 45 years old, graduated Bachelor’s degree and worked as an employee for private companies, with average monthly income 25,000 THB. (1) Most respondents passed basic bakery courses. The main reason for joining baking class was baking for family. They preferred to join a group class with 2-4 people per group, tuition fee for 1,001 – 3,000 THB per course, liked to attend baking class on the weekend, and searched baking school information via social media for example website/facebook/application. (2) They ranked the significant level of overall marketing mix factors of baking school was at the highest level. When considering each aspect of marketing mix factors, the highest level was processing, followed by physical, people, and price respectively. (3) The responding consumers who had different income showed different opinions on all aspects of marketing mix factors of baking school. The consumers who had difference married status showed no different opinions on all aspects of marketing mix factors of baking schoolen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_150231.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.21 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons