Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7761
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรชพร จันทร์สว่าง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกิตติยา ขจรไตรเดช, 2528--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-14T06:38:30Z-
dc.date.available2023-07-14T06:38:30Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7761-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการใช้บริการเช็คอินออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชันและระดับการยอมรับเทคโนโลยีของผู้โดยสารสายการบินแอร์เชีย (2) เปรียบเทียบการใช้บริการเช็คอินออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชันของผู้โดยสารสายการบินแอร์เอเชีย จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) ศึกษาปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยีที่ส่งผลต่อการใช้บริการเช็คอินออนไลน์ของผู้โดยสาร สายการบินแอร์เอเชีย การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร ได้แก่ ผู้โดยสารที่เคยใช้บริการเช็คอินออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชันของสายการบินแอร์เอเชีย ซึ่งไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน กำหนดตัวอย่างโดยใช้สูตรของคอแครน และเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง แบบง่าย ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับการใช้บริการเช็คอินออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชันของผู้โดยสารสายการบินแอร์เอเชียในภาพรวมและเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน และระดับการยอมรับเทคโนโลยีในการเลือกใช้บริการเช็คอินออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชันของผู้โดยสารสายการบินแอร์เอเชียในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากที่สุดและระดับมาก (2) ผู้โดยสารที่มีอาชีพต่างกันมีการใช้บริการเช็คอินออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชันของผู้โดยสารสายการบินแอร์เอเชียแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (3) การยอมรับเทคโนโลยีที่ส่งผลต่อการใช้บริการเช็คอินออนไลน์ของผู้โดยสารสายการบินแอร์เอเชีย ได้แก่ ด้านการรับรู้ถึงความง่าย ด้านทัศนคติการใช้งาน ด้านความน่าเชื่อถือของแอปพลิเคชัน และด้านการตอบสนองต่อการใช้งานผ่านแอปพลิเคชัน ซึ่งสามารถร่วมกันทำนายการเลือกใช้บริการเช็คอินออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชันของผู้โดยสารสายการบินแอร์เอเชีย ได้ร้อยละ 77.70th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสายการบินแอร์เอเชีย--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้บริการเช็คอินออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชันของผู้โดยสารสายการบินแอร์เอเชียth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the usage of on-line check-in via application of Air Asia by passengersen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the level of online check-in service via application and technology acceptance of Air Asia passengers; (2) to compare the use of online check-in via application of Air Asia by passengers classified by personal factors; and (3) to study technology acceptance factors affecting the use of online check-in via application of Air Asia by passengers. The population of this survey research was the passengers who used an online check-in via application of Air Asia, the number of which unknown. The sample was determined by using Cochran's formula. Collecting the data from 400 sampling by using a simple random sampling method. The constructed questionnaire was used as a tool for collecting data. The statistical analysis was descriptive statistics such as frequency, percentage and mean, combined with inferential statistics such as t-test, One-way Analysis of Variance and multiple regression analysis. The results of the study revealed that (1) the level of online check-in service via application was the highest in overall and in all aspects at the highest level. The level of technology acceptance of Air Asia passengers using online check-in via application was overall at the high level. As for each aspect, it was found that the mean was at the highest level and the high level; (2) passengers with different occupations using online check-in via application of Air Asia had differed significantly at 0.05 level; and (3) technology acceptance factors affecting the use of online check-in via Air Asia passengers in aspects of the ease to use, attitude about usage, reliability, and responsiveness of application together could predict the choice of online check-in service via the application of AirAsia passengers at 77.70 percenten_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.78 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons