กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7825
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จีระ ประทีป | th_TH |
dc.contributor.author | สรรภพ เดชกุล, 2506- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-16T06:34:44Z | - |
dc.date.available | 2023-07-16T06:34:44Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7825 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัญหาในการบริหารการคืนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่ยื่นแบบฯ ผ่านอินเทอร์เน็ตในเขตพื่นที่สำนักงานสรรพากรพื้นที่เชียงใหม่ 1 (2) ศึกษาแนวทางในการ พัฒนาการบริหารการคืนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่ยื่นแบบฯ ผ่านอินเทอร์เน็ต ในเขตพื้นที่สำนักงานสรรพากร พื้นที่เชียงใหม่ 1 ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้ยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่าน อินเทอร์เน็ตที่ประสงค์ขอคืนภาษี จำนวน 390 ราย และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานวิเคราะห์คืนภาษี จำนวน 10 คน ใช้เครื่องมือแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ในการเก็บรวบรวมข้อมูล นำข้อมูลแบบสอบถามมาวิเคราะห์และแปรผล โดยการคำนวณค่าทางสถิติในรูปของความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และนำข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์มาทำการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัญหาในการบริหารการคืนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาฯ ที่สำคัญ มีดังนี้ ปัญหาด้านบุคลากร พบว่า เจ้าหน้าที่ไม่สามารถให้คำปรึกษาเกี่ยวกับกฎหมายภาษีอากรได้อย่างถูกต้อง ปัญหาด้านกระบวนการ/ขั้นตอนการปฏิบัติ พบว่า ในการลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผู้ใช้และรหัสผ่านมีขั้นตอนมากเกินไป ขั้นตอนหลังการยื่นแบบฯ พบว่า ไม่มีการแจ้งให้ทราบวาจะได้รับเช็คคืนภาษีเมื่อใด และเจ้าหน้าที่ขาดข้อมูลในการทำงานวิเคราะห์คืนภาษี ปัญหาด้านอุปกรณ์/เครื่องมือ/ระบบงานฯ พบว่า ระบบเครือข่ายขัดข้อง ล่าช้า บ่อยครั้ง ปัญหาด้านข้อกฎหมาย/ระเบียบฯ พบว่า ข้อกฎหมายซับซ้อนเข้าใจยาก ตีความต่างกัน (2) แนวทางการพัฒนาการบริหารการคืนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาฯ ที่สำคัญคือ ด้านบุคลากร ควรฝึกอบรม ให้ความรู้ เน้นการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ และปลูกฝังให้เจ้าหน้าที่มีจิตให้บริการ ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนการปฏิบัติ ควรให้กรอกข้อมูลเท่าที่จำเป็น ควรให้มีระบบแจ้งระยะเวลาการคืนภาษี ให้ผู้ขอคืนทราบ และควรมีข้อมูลสนับสนุนที่ถูกต้องอ้างอิงได้ เพื่อสนับสนุนการทำงานของเจ้าหน้าที่ ด้านอุปกรณ์/เครื่องมือ/ระบบงานฯ ควรขยายช่องทางเครือข่ายและมีระบบเครือข่ายสำรองเมื่อเกิดปัญหา ด้านข้อกฎหมาย/ระเบียบฯ ควรมีข้อชี้แจงอธิบายกฎหมายใหม่ๆอยู่เสมอและให้สืบค้นได้ง่าย | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | สำนักงานสรรพากร--การบริหาร | th_TH |
dc.subject | ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจ | th_TH |
dc.title | ปัญหาและแนวทางการพัฒนาการบริหารการคืนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่ยื่นแบบแสดงรายการผ่านอินเทอร์เน็ตในเขตพื้นที่สำนักงานสรรพากร พื้นที่เชียงใหม่ 1 | th_TH |
dc.title.alternative | Problems and resolutions of refunding administration of personal income tax filed via internet in Chiangmai Revenue Office Area 1 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This Independent Study aims to (1) study the problems of Refunding Administration of Personal Income Tax filed via Internet in Chiangmai Revenue Office Area 1 (2) study the resolutions of Refunding Administration of Personal Income Tax filed via Internet in Chiangmai Revenue Office Area 1. The population of this study is 390 Personal Income Tax Refund claiming taxpayers filed via Internet and 10 Revenue Department’s workers. Data collection instrument was the questionnaires and interviews. The questionnaire data analysis was based on the results including frequency, percentage, average and standard deviation. The interview data was based on content analysis. The results showed that (1) The important problems of refunding administration of personal income tax filed via internet in Chiangmai Revenue Office Area 1 was as follows: Personal problems found that Revenue Department’s workers could not provided advice on tax law correctly. The problems of process / procedures found in the register for a User ID and password are too many steps, no notice ‘when to get tax refund checks’ after filed via internet, and the official had not information for analysis on the tax return. The problems of equipment / tools / systems components found that the processing of tax refunds was the often disruption or slow movement in running the computerized and slow network. Legal regulation problems were complex, incomprehensible and different interpretations. (2) The important development approach of refunding administration of personal income tax filed via internet in Chiangmai Revenue Office Area 1 was as follows: The Revenue Department’ workers should be developed by training and knowledge. Focused on the learning organization. And instill a spiritual service officials. The process / procedures should be completed as needed, should has the notice system for the duration of the tax to be refunded, and supporting correct information to the official. The equipment / tools / systems components should be expansion network channel and has network backup when the main network has been disrupt. The legal regulations should have explained the new laws are constantly and easily searched. | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Manage-Independent study |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
fulltext_146033.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.75 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License