Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/792
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรเดช ประดิษฐบาทุกา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพาณี สีตกะลิน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorทิพวิมล ดำช่วย, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-20T03:40:03Z-
dc.date.available2022-08-20T03:40:03Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/792-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ประสิทธิผลของการดูแลผู้ป่วยปวดหลังจากการเคลื่อนของหมอนรองกระดูกสันหลังโดยใช้แนวทางการดูแลรักษาคลินิกทางกายภาพบำบัดในโรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช โดยศึกษาผลของการดูแลรักษาผู้ป่วยและระบบการดูแลรักษาข้อเสนอแนะผู้ป่วย สิ่งทดลอง คือ แนวทางการดูแลรักษาคลินิกทางกายภาพบำบัดประกอบด้วย ระบบการคัดกรองผู้ป่วยแผนการดูแลรักษาโดยใช้แนวทางการดูแลรักษาคลินิกทางกายภาพบ่าบิด และแผนการดูแลตนเองของผู้ป่วย ประชากรคือผู้ป่วยปวดหลังจากการเคลื่อนของหมอนรองกระดูกสันหลังจำนวน 90 คนที่มารับการรักษาที่งานกายภาพบำบัดในช่วงเดือนมกราคม พ.ศ. 2550 - มีนาคม พ.ศ. 2551 กลุ่มทดลอง คือ ผู้ป่วยปวด หลังจากการเคลื่อนของหมอนรองกระดูกสันหลัง จำนวน 45 คน โดยใช้แนวทางการดูแลรักษาคลินิกทางกายภาพบำบัด ที่มารับการรักษาตั้งแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2550 มีนาคม พ.ศ. 2551 กลุ่มควบคุมคือ ผู้ป่วยปวดหลังจากการเคลื่อนของหมอนรองกระดูกสันหลัง จํานวน 45 คน ที่มารับการรักษาตั้งแต่เดือนมกราคม OhioLINK L -ธันวาคม พ.ศ. 2550 การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติใช้การทดสอบแมนวิทนีย์ ผลการวิจัยพบว่า ไม่มีผู้ป่วยที่ต้องกลับมารับการรักษาภายใน 14 วันหลังจากวันสิ้นสุด การรักษา ค่าเฉลี่ยของจํานวนครั้งทีต้องมารับการรักษา และค่าเฉลี่ยของค่าใช้จ่ายในการมารับการรักษาจน สิ้นสุดการรักษากลุ่มทดลองน้อยกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) จากการวิจัยนี้มี านกายภาพบำบัดควรมีการกำหนดแนวทางในการปฏิบัติงานของนักกายภาพป่าบิด และเจ้าหน้าที่เป็นไปแนวทางเดียวกันและตามมาตรฐานวิชาชีพในการให้การดูแลรักษาผู้ป่วยที่มีอาการ ปวดหลังจากการเคลื่อนของหมอนรองกระดูกสันหลังth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectปวดหลัง--การรักษาth_TH
dc.subjectปวดหลัง--กายภาพบำบัดth_TH
dc.titleประสิทธิผลของการดูแลผู้ป่วยปวดหลังจากการเคลื่อนของหมอนรองกระดูกสันหลัง โดยใช้แนวทางการดูแลรักษาคลินิกทางกายภาพบำบัด ในโรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราชth_TH
dc.title.alternativeThe effectiveness of medical care for back pain patients caused by herniated nucleus palposue using clinical practice guidelines for physical therapy in Maharaj Nakhon Si Thammarat Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธาณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis is a quasi-experimental research conducted to study the results for assessing the effectiveness of medical care for patients with back pain caused by herniated nucleus pulposus using clinical practice guidelines for physical therapy in Maharaj Nakhon Si Thammarat hospital. The study was conducted among 90 patients with back pain caused by herniated nucleus palposus who were all treated at the physical therapy section from January 2007 to March 2008. The research treatment was the clinical practice guidelines for physical therapy which consisted of patient care screening system, plan for physical therapy according to the clinical practice guidelines, and plan for patient's self-care. The experimental group was 45 back pain patients using the clinical practice guidelines from June 2007 to March 2008 and the control group was 45 back pain patients who were treated at the physical therapy section from January to December 2007. The Mann-Whitney U test, the Krulkal-Wallis H test and t-test, analysis of variance (ANOVA) were used for statistical analysis. The study found that the average number of treatments and the average expenses for the entire treatment course in the experimental group were significantly less than those in the control group at p < 0.05. The experimental group had no patients with recurrent back pain for coming back for additional treatment within 14 days after the end of treatment course. This study recommends that a physical therapy unit should specify the practical guidelines for its physical therapists and other officers according to the professional standards for medical care of patients with back pain caused by herniated nucleus pulposusen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
108826.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.86 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons