Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7965
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ยุทธนา ธรรมเจริญ | th_TH |
dc.contributor.author | สุชาดา ศรลัมพ์, 2498- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-18T08:17:59Z | - |
dc.date.available | 2023-07-18T08:17:59Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7965 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมการซื้อเครื่องหอมไทยของกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย (2) เพื่อศึกษาส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อการซื้อเครื่องหอมไทยของผู้บริโภค (3) เพื่อศึกษาลักษณะทางประชากรศาสตร์ของผู้บริโภคที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อเครื่องหอมไทย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือประชากรที่ซื้อเครื่องหอมไทยในระยะเวลา 1 ปี ที่อยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร แบ่งตามโควตา กระจายไปตามเขตต่าง ๆ เช่น สีลม บางรัก หมู่บ้านจัดสรร และ เขตปริมณฑล รวมทั้งสิ้น 400 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามที่สร้างขึ้นโดยผ่านการกลั่นกรองจากผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน ในการวิเคราะห์ใช้ค่าความถี่ร้อยละ, คำนวณค่าสถิติพรรณา และสร้างตารางแจกแจงความถี่ 2 ทาง ผลของการวิจัยพบว่า กลุ่มประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามมีเพศหญิงมากกว่าเพศชาย อายุระหว่าง 25-35 ปี ทำงานกับบริษัทเอกชน มีรายได้ 10,000 – 20,000 บาท ผลิตภัณฑ์ที่นิยมซื้อมากที่สุด คือ นํ้าอบไทย ซื้อครั้งละ 250 บาท และซื้อ 2 ครั้ง ต่อเดือนนิยมซื้อจากห้างสรรพสินค้า และเห็นความสำคัญของวันเดือนปี ที่ผลิต และหมดอายุ ราคาต้องมีความเหมาะสมกับคุณภาพ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.253 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | เครื่องหอม | th_TH |
dc.subject | พฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย--กรุงเทพฯ | th_TH |
dc.title | พฤติกรรมการซื้อเครื่องหอมไทยของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร | th_TH |
dc.title.alternative | Consumers buying behavior of Thai perfume in Bangkok metropolitan | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2003.253 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.253 | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research aims to (1) study the behavior of target customer ill consuming thai perfume (2) study of the marketing mix that affects the customer’s behavior and (3) study the demographie characteristics affecting the customer’s behavior. The sample used in this research was 400 people in the Bangkok area who consumed Thai perfume over a period of one year, divided by district, such as Silom. Bangrak. and housing estates and suburbs. The questionnaire was set up and sifted by three competent persons, and distributed into three sections. The data was analyzed by using percentage frequency, calculating the descriptive statistics and forming a two-way frequency distribution table. The research found that most of the customers are female age between 25 and 30. earning approximately 10.000-20.000 baht per month and working in private companies. The favorite Thai perfiime is the Thai traditional fragrance. From 250 bath is spent per purchase, with two purchase per month. They prefer to buy from department stores, and attach significance to production and expire dates. The price must be appropriate for the quality. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | อดิลล่า พงศ์ยี่หล้า | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | ศิริชัย พงษ์วิชัย | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License