Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8057
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริพันธ์ พลรบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเจริญชัย บุญเกลี้ยง, 2511--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-07-21T06:47:37Z-
dc.date.available2023-07-21T06:47:37Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8057-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแนวความคิดเกี่ยวกับการสืบสวนพิเศษ โดยวิธีการดักฟัง และแนวความคิดเกี่ยวกับสิทธิ และเสรีภาพของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ ศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบการสืบสวนพิเศษ โดยการดักฟังตามพระราชบัญญัติป้องกัน และปราบปรามยาเสพติด พ.ศ. 2519 มาตรา 14 จัตวา กับการสืบสวนพิเศษโดยการดักฟังตามกฎหมายต่างประเทศ ศึกษาหลักกฎหมายเกี่ยวกับการสืบสวนพิเศษโดยการดักฟังตามพระราชบัญญัติป้องกัน และปราบปรามยาเสพติด พ.ศ. มาตรา 14 จัตวา เพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปรับปรุงการสืบสวนพิเศษโดยการดักฟังตามพระราชบัญญัติป้องกัน และปราบปรามยาเสพติด พ.ศ. 2519 มาตรา 14 จัตวา เพื่อมิให้เกินขอบเขตในการจำกัดสิทธิ และเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยวิจัยจากเอกสาร จากการค้นคว้า และรวบรวมข้อมูลจากหนังสือและตำรากฎหมาย บทความเอกสาร รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ ตลอดจนเอกสาร สิ่งพิมพ์ และสื่อทางอิเล็กทรอนิกส์ในระบบออนไลน์ต่าง ๆ ผลการศึกษา พบว่า สิทธิและเสรีภาพในการสื่อสารถึงกันของประชาชนเป็นสิทธิเสรีภาพ ขั้นพื้นฐานที่ได้รับการคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ เนื่องจากพระราชบัญญัติป้องกัน และปราบปราม ยาเสพติด พ.ศ. 2519 มาตรา 14 จัตวา เป็นกฎหมายที่ให้อำนาจเจ้าพนักงานสืบสวนในรูปแบบพิเศษ โดยการดักฟัง โดยจะต้องปฏิบัติตามขั้นตอนตามระเบียบคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ว่าด้วยการได้มา การใช้ประโยชน์ และการเก็บรักษาข้อมูลข่าวสาร พ.ศ. 2545 แต่ก็พบว่าในการใช้มาตรการในการดำเนินการยังไม่เป็นการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนในการติดต่อสื่อสารถึงกันอัน เนื่องมาจากไม่มีการกำหนดถึงตำแหน่ง คุณสมบัติ ความรู้ความสามรถของเจ้าพนักงานที่มีอำนาจดักฟังไว้อย่างชัดเจน ไม่มีองค์กรอื่นเข้าร่วมในการกลั่นกรองก่อนเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดพิจารณาอนุมัติให้มีการดักฟัง ไม่มีการรายงานผลการดักฟังและกำหนดระยะเวลาในการรายงานผลการดักฟังภายหลังจากที่อธิบดีผู้พิพากษาศาลอาญาอนุญาตให้มีการดักฟังไว้อย่างชัดเจน จึงเป็นช่องว่างและไม่เพียงพอที่จะคุ้มครองสิทธิเสรีภาพในการสื่อสารของประชาชน ควรที่จะปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินการ เพื่อมิให้เจ้าพนักงานใช้อำนาจกระทำการที่เกินขอบเขตในการจำกัดสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการดักฟังข้อมูลข่าวสารth_TH
dc.subjectยาเสพติด--คดีและการสู้คดีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleการดักฟังทางโทรศัพท์ในคดีปราบปรามยาเสพติดth_TH
dc.title.alternativeThe telephone intercept on narcotics suppressionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study the concept on special investigation by means of offence wiretapping and concept on the rights and freedoms as constitution to study the principle of law, importance and necessity on wiretapping as Narcotics Control Act, 1976, section14, quarter, to compare the ways for special investigation by wiretapping as Narcotics Control Act, 1976, section14, quarter with special investigation by wiretapping as foreign law and to offer the ways to rectify for special investigation as Narcotics Control Act, 1976, section14, quarter lest to be over the limit in limiting the rights and freedoms as constitution. This research was qualitative research from documents, researches and data collection from books and legal code, articles, research reports, thesis including documents, printed matters and electronic media in various online. Findings found that the rights and freedoms in communication to each other of the people was fundamental rights and freedoms protected as constitution due to Narcotics Control Act, 1976, section14, quarter was the law authorizing investigator in special form by wiretapping to has to perform as the procedures according to rules of Office of Narcotics Control Board dealing with acquisition, utilization and storage for news information, 2002 but found that in using the measures for operation, it was not protection for the rights and freedoms of the people in communication to each other as the results of there was not clear formulation on position, qualification of officers who had authority for wiretapping, no procedure for investigating authority use of secretary of Office of Narcotics Control Board in considering to approve providing clear wiretapping, no control to investigate for period of time in clear wiretapping, it was then the gap and being deficient to protect the rights and freedoms in communication of the people, so it should have law revision in order to use as guideline in operations lest the officers exercising the power to do over the limit in limiting the rights and freedoms as constitutionen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.26 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons