Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8169
Title: การประเมินโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการบริหารจัดการของโรงเรียนคลองดู่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3
Other Titles: An evaluation of the information and communication technology for administration project of Ban Klongdoo School under Phetchabun Primary Education Service Area Office 3
Authors: บุญศรี พรหมมาพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษา
สิรีกานต์ สาริกา, 2519-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์
Keywords: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณี
เทคโนโลยีสารสนเทศ--การประเมิน.--ไทย
โรงเรียน--การจัดการ
โครงการ--การประเมิน.
การศึกษาอิสระ--การวัดและประเมินผลการศึกษา
Issue Date: 2558
Publisher: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินปัจจัยเบื้องต้นของโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการบริหารจัดการของโรงเรียนบ้านคลองดู่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เพชรบูรณ์ เขต 3 (2) ประเมินกระบวนการดำเนินงานของโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการบริหารจัดการของโรงเรียนบ้านคลองดู่ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษา เพชรบูรณ์ เขต 3 และ (3) ประเมินผลผลิตของโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการบริหารจัดการของโรงเรียนบ้านคลองดู่ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษา เพชรบูรณ์ เขต 3 กลุ่มผู้ให้ข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหาร ครู กรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง และนักเรียน ปีการศึกษา 2558 จำนวนทั้งสิ้น 235 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) การประเมินด้านปัจจัยเบื้องต้น โดยภาพรวมพบว่า อยู่ใน ระดับ มาก คือ เรื่องการแต่งตั้งกรรมการดำเนินงาน งบประมาณในการดำเนินงาน จำนวน คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่น (2) การประเมินด้านกระบวนการ โดยภาพรวมพบว่า อยู่ในระดับมาก คือ เรื่อง การวาง แผนการดำเนินงาน โครงสร้างการบริหารงาน การดำเนินงาน และ(3) การประเมิน ด้านผลผลิต โดย ภาพรวมพบว่า อยู่ในระดับมาก คือ เรื่อง การได้รับความรู้จากการจัดกิจกรรมตาม โครงการ หน่วยงานภายนอกและชุมชนได้รับข้อมูลและให้ความร่วมมือ ส่วนความพึงพอใจที่มีต่อ โครงการ โดยภาพรวมพบว่าอยู่ในระดับมาก คือ บุคลากรมีความกระตือรือร้นเต็มใจให้บริการ การ ดำเนินงาน หรือ การปฏิบัติงานของผู้รับผิดชอบเป็นไปอย่างรวดเร็วมีขั้นตอน ซึ่งผลการประเมิน เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8169
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_152253.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.67 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons