Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8222
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประจวบจิตร คำจัตุรัสth_TH
dc.contributor.authorปรีชา บุตรสุโพธิ์, 2500-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-26T03:50:19Z-
dc.date.available2023-07-26T03:50:19Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8222en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2539th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะพัฒนาชุดกิจกรรมชุมนุมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นผสม และเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้น ผสมของนักเรียนก่อนการใช้ชุดกิจกรรมชุมนุมวิทยาศาสตร์และหลังการใช้ชุดกิจกรรมชุมนุมวิทยา ศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2538 โรงเรียน หนองสองห้องวิทยา อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น จำนวน 30 คน การสุ่มตัวอย่างใช้วิธี การสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ ชุดกิจกรรมชุมนุมวิทยาศาสตร์ และแบบทดสอบวัด ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นผสม ซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.85 ในการเก็บรวบรวมข้อ มูล ให้กลุ่มตัวอย่างทำแบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นผสมก่อนการใช้ชุด กิจกรรมชุมนุมวิทยาศาสตร์ ปฏิบัติกิจกรรมในชุดกิจกรรมชุมนุมวิทยาศาสตร์ และทำแบบทดสอบ วัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นผสมหลังการใช้ชุดกิจกรรมชุมนุมวิทยาศาสตร์ การ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมชุมนุมวิทยาศาสตร์ด้วยเกณฑ์มาตรฐาน 85/85 และเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างคะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นผสม ก่อนการใช้และหลังการใช้ชุดกิจกรรมชุมนุมวิทยาศาสตร์ โดยใช้ t-test แบบสัมพันธ์กัน ผลการวิจัยพบว่า 1. ชุดกิจกรรมชุมนุมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นผสม มีประสิทธิภาพ = 89.06/87.81 2. คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นผสมของกลุ่มตัวอย่างหลังการใช้ชุดกิจ กรรมชุมนุมวิทยาศาสตร์สูงกว่าก่อนการใช้ชุดกิจกรรมชุมนุมวิทยาศาสตร์อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกิจกรรมเสริมหลักสูตรth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การสอนด้วยสื่อth_TH
dc.titleการพัฒนาชุดกิจกรรมชุมนุมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นผสม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จังหวัดขอนแก่นth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of a science club activity package for developing integrated science process skills of Mathayom Suksa IV students in Khon Kaen Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน มัธยมศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to develop a science club activity package for developing integrated science process skills and to compare the students' science process skills before and after using the science club activity package. The samples were 30 Mathayom Suksa IV students who were studying in the second semester of the 1995 academic year at Nongsonghong Wittaya School, Amphur Nongsonghong, Khon Kaen Province. The sampling method was simple random sampling. The instruments used in this study were the science club activity package and the integrated science process skills test (reliability = 0.85). The integrated science process skills test was administered before and after using the science club activity package. The data were analyzed to determine the efficiencies against the 85/85 standard. The pretest and posttest scores were compared by using t-test dependent. The results of the study revealed that 1. The science club activity package for developing integrated science process skills was efficient at 89.06 / 87.81 2. The scores of the students' integrated science process skills as evidenced from the posttest were significantly higher than those from the pretest at the .01 level.en_US
dc.contributor.coadvisorกล้า ทองขาวth_TH
dc.contributor.coadvisorทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์th_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_49716.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.32 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons