Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8237
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธนา ธรรมเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรุจาภา สุวรรณเวก, 2518-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-26T06:50:48Z-
dc.date.available2023-07-26T06:50:48Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8237-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพี่อศึกษา (1) ความคิดเห็นของลูกค้าต่อส่วนประสมการตลาดของร้านปรวัฒน์ค้าไม้ ในเขตจังหวัดนนทบุรี (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของลูกค้าที่มี ลักษณะการประกอบการแตกต่างกันต่อส่วนประสมการตลาด วิธีการศึกษา ใช้วิธีวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร คือ ลูกค้าประจำและไม่ประจำที่มาซื้อไม้ แบบก่อสร้างของร้านปรวัฒน์ค้าไม้ จำนวน 280 คน จากการเปิดตารางการกาหนดขนาดตัวอย่าง ของ ยามาเน่ เก็บตัวอย่างโดยวิธีตามสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การหาค่าร้อยละ การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติเอฟ และที ผลการศึกษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 40-49 ปี การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นประกอบอาชีพรับจ้างเป็นผู้รับเหมารายย่อยลักษณะกิจการเป็น ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล และสั่งซื้อตามคำสั่งของเจ้าของกิจการซึ่งมีผลการศึกษา ดังนี้ (1) ความคิดเห็นของลูกค้าเกี่ยวกับส่วนประสมการตลาดของร้านปรวัฒน์ค้าไม้ อยู่ในระดับดี ทั้งใน ภาพรวม และด้านย่อยทุกๆ ด้านตามลำดับจากมากไปหาน้อยคือ ด้านผลิตภัณฑ์มากที่สุด รองลงมา คือ ด้านการจัด จำหน่าย ด้านราคา และด้านการส่งเสริมการตลาด สำหรับความเห็นของกลุ่มตัวอย่าง ในรายละเอียดย่อยในแต่ละด้านเป็นดังนี้ ด้านผลิตภัณฑ์ มีให้เลือกหลากหลาย และมีการจำหน่าย ไม้ทุกชนิดมากที่สุด ด้านราคา กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยว่าราคาถูกกว่าที่อื่นมากที่สุดด้านการจัด จำหน่ายมีการจัดส่งทางร้านใช้ยานพาหนะ เครื่องมือ อุปกรณ์ที่สะดวกและทันสมัย และทำเลที่ตั้ง หาง่ายมากที่สุด ด้านการส่งเสริมการตลาดมี การจัดให้มีมุมดื่มกาแฟฟรีสำหรับลูกค้ามากที่สุด (2) ลูกค้าที่มีลักษณะการประกอบการ ที่แตกต่างกนมีความคิดเห็นเกี่ยวกับส่วนประสมการตลาด ของร้านปรวัฒน์ค้าไม้แตกต่างกันในด้านการจัดจำหน่าย และการส่งเสริมการตลาดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectปรวัฒน์ค้าไม้--การตลาดth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การตลาดth_TH
dc.titleความคิดเห็นของลูกค้าเกี่ยวกับส่วนประสมการตลาดของร้านปรวัฒน์ค้าไม้ในเขตจังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.title.alternativeCustomers' opinion towards the marketing mix of Porawat Karmai Store in Nonthaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study are to study: (1) customers’ opinion towards the marketing mix of Porawat Karmai store in Nonthaburi Province and (2) the comparison among the customers’ towards the different entrepreneurships that effected to the marketing mix. The methodology of this study was the survey research. The population was 280 regular and one-time customers who bought formworks at Porawat Karmai store. The sampling group is selected by convenience sample. Questionnaires are used as a tool to collect the data. Analysis of the data involved the use of percentage, frequency distribution, mean, standard deviation, T-test, and F-test. The study results finds that the sample size is males who were 40-49 years old, graduated from junior high school, and were employed as subcontractors. The form of legal organization was registered ordinary partnership. They purchased the goods by the order of their business owners. The customers’ opinions towards; (1) the marketing mix of Porawat Karmai were at the agreeable level in overall and in every marketing mix factor. Taking the individual part into consideration, it was found that the marketing mix of product showed the highest level of agreement, followed by place, price and marketing promotion respectively. For the details in each marketing mix factor was found that: product – the samples agreed at the highest level that various kinds of products can be chosen and every kind of wood products was available for sale; price – the samples agreed at the highest level that the store was cheaper than other stores; place – the samples agreed at the highest level that comfortable and modern vehicles, equipments and facilities are utilized and the store location was easy to find; and marketing promotion the samples agreed at the highest level on the serving of beverages free of charge and a coffee corner for customers (2) the customers with different entrepreneurships had different opinions towards the marketing mix of Porawat Karmai store in product, price and marketing promotionen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_132854.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.63 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons