Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8252
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประภาพรรณ เอี่ยมสุภาษิตth_TH
dc.contributor.authorภัททิยา กฤษณะพันธุ์, 2489-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-26T08:40:59Z-
dc.date.available2023-07-26T08:40:59Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8252en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2540th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมที่มีต่อ การลดพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กปฐมวัย โดยการนำคุณธรรม 4 ประการ คือ ความมีระเบียบวินัย ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ความขยันหมั่นเพียร และการประหยัด มาจัดเป็นกิจกรรมเสริมแนวการจัด ประสบการณ์ประจำวัน ในการวิจัยใช้การวิจัยเชิงทดลองแบบ "กลุ่มเปรียบเทียบการสังเกตก่อน-หลังการ ทดลองและติดตามผล" กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กปฐมวัยอายุระหว่าง 4-5 ปี จำนวน 10 คน ที่ศึกษา อยู่ในชั้นอนุบาลปีที่ 2 การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างใช้วิธีสังเกตพฤติกรรมก้าวร้าวที่เด็กแสดงออก ด้วยการใช้แบบสังเกตได้มา 2 ห้องเรียนๆ ละ 5 คน แล้วสุ่มอีกครั้งด้วยวิธีการจับสลากเพื่อ กำหนดเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ กิจกรรมส่งเสริม คุณธรรม เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสังเกตพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กปฐมวัย ที่ใช้การวัดด้วยช่วงเวลา ในการดำเนินการวิจัยนี้ กลุ่มทดลองได้รับการจัดกิจกรรมส่งเสริม คุณธรรมเสริมแผนการจัดประสบการณ์ปกติ เป็นเวลา 8 สัปดาห์ ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับ ประสบการณ์ตามแผนการจัดประสบการณ์ปกติเท่านั้น การวิเคราะห์ข้อมูลคำนวณโดยการหาค่า ร้อยละและค่ามัชฌิมเลขคณิตของความถี่ของการเกิดพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กปฐมวัยที่ได้จาก การสังเกตพฤติกรรมของเด็กขณะทำกิจกรรมเสรี(การเล่นตามมุม)และกิจกรรมการเล่นกลางแจ้ง ในช่วงเวลา 3 ระยะ คือ ระยะเส้นฐาน ระยะทดลอง และระยะติดตามผล ผลการวิจัยพบว่า เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมเสริมแผนการจัด ประสบการณ์ปกติมีพฤติกรรมก้าวร้าวลดลง เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนได้รับกิจกรรมส่งเสริม คุณธรรม อีกทั้งเมื่อสิ้นสุดการทดลองแล้วพฤติกรรมก้าวร้าวนั้นยังลดอยู่th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความก้าวร้าวในเด็กth_TH
dc.subjectเด็กวัยก่อนเข้าเรียน--พฤติกรรมth_TH
dc.titleผลของการใช้กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม ที่มีต่อการลดพฤติกรรมก้าวร้าว ของเด็กปฐมวัยth_TH
dc.title.alternativeEffects of using virtue activities on decreasing aggressive behavior of preschool childrenen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the effects of using virtue activities to decrease aggressive behavior in preschool children. The four virtues of discipline, generosity, diligence and economy were organized as additional activities to the children's everyday experiences. The ABF Control Group Design was employed as the experimental design for this study. Sample comprised 10 preschool children, aged 4-5 years old, attending the second preschool level. They were selected from 2 classrooms by using the observation form of Preschool Children's Aggressive Behaviors measured by time- interval. Each classroom consisted of 5 children. One classroom was assigned as an experimental group and the other as a control group. The instrument for data correction used were the observation form of Preschool Children's Aggressive Behavior by time- interval measure and virtue activities. The experimental group received the virtue activities together with everyday experiences for 8 weeks. The control group receivecd only everyday experiences. The results were analyzed by percentage and arithmetic mean (X). for occurrence of preschool children's aggressive behavior which was observed during free play and outdoor play within 3 periods: pre-experiment, experiment and post-experiment. The results showed that after receiving virtue activities, the aggressive behaviors of the experimental group was found to be decreasing. Even after completion of the experiment, the aggressive behaviors continued to decline.en_US
dc.contributor.coadvisorจิตตินันท์ เดชะคุปต์th_TH
dc.contributor.coadvisorพัชรี ผลโยธินth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_49860.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.34 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons