Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8349
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอโณทัย งามวิชัยกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorบุณยวีย์ นันทนวิจิตร, 2532- ผู้แต่งth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-31T12:58:24Z-
dc.date.available2023-07-31T12:58:24Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8349-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ลักษณะประชากรศาสตร์ในการเลือกซื้อคอนโดมิเนียม ประเภทผสมผสานในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และ (2) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดในการ เลือกซื้อคอนโดมิเนียมประเภทผสมผสานในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจำแนกตามลักษณะ ประชากรศาสตร์ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรในการศึกษา คือ ประชากรที่อาศัยในเขต กรุงเทพมหานครที่มีแนวคิดในการเลือกซื้อคอนโดมิเนียมประเภทผสมผสานภายในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ที่ไม่ทราบจำนวนที่แน่นอน กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามสูตรของคอแครน ได้จำนวน 400 คน สุ่มตัวอย่างแบบง่าย ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ใน การศึกษา แบ่งเป็น สถิติเชิงพรรณนา ระบุ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน การทดสอบสมมติฐานตามปัจจัยส่วนบุคคลโดยใช้การทดสอบค่าทีและการวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบจำแนกทางเดียวและเปรียบเทียบความแตกต่างรายคู่ด้วย แอลเอสดี ผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 31-40 ปี สถานภาพโสด โดยพักอาศัยตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ซึ่งมีวุฒิการศึกษาปริญญาตรี อาชีพพนักงานเอกชน และมี รายได้ไม่เกิน 30,000 บาท มีแนวคิดในการเลือกซื้อคอนโดมิเนียมประเภทผสมผสานในช่วงงบประมาณ ราคาที่ 100,000 – 150,000 บาท/ตรม.และ (2) กลุ่มตัวอย่างให้ความสำคัญกับปัจจัยส่วนประสมการตลาด ในระดับมากทุกด้าน โดยลำดับแรกให้ความสำคัญด้านราคา รองลงมาด้านส่งเสริมการตลาดด้านสถานที่ ทำเลที่ตั้งและด้านผลิตภัณฑ์ ซึ่งประชากรศาสตร์ที่มีลักษณะแตกต่างกัน คือ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนจะมีปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ และผู้ประกอบการ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์สามารถนำผลการวิจัยไปประยุกต์เพื่อการวางแผนส่วนประสมการตลาดให้แก่ ลูกค้าที่มีแนวคิดในการเลือกซื้อที่อยู่อาศัยโดยเฉพาะคอนโดมิเนียมประเภทผสมผสานในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการตลาด --การตัดสินใจth_TH
dc.subjectที่อยู่อาศัย--การตลาด--ไทย--กรุงเทพฯth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การตลาดth_TH
dc.titleปัจจัยส่วนประสมการตลาดในการเลือกซื้อคอนโดมิเนียมประเภทผสมผสานในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลth_TH
dc.title.alternativeMarketing mix consideration for Purchasing Mixed-Use Condominium in Bangkok and Vicinityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: (1) to study the demographic associated with Mix-Used Condominium buying behaviors in Bangkok and Vicinity, and (2) to examine marketing mix factors associate with Mix-Used Condominiums buying behaviors in Bangkok and Vicinity, classified by demographic characteristics. This study was quantitative research. The target population in the study is a group of people with a desire to buy Mix-Used Condominiums and live in Bangkok and Vicinity. The sample size in this research was 400 people, calculated using Cochran (1997) formula. The sample participants were selected by simple random sampling. The instrument used for data collection was a questionnaire. Statistics used to analyze data were percentage, mean, standard deviation, T-test, F-test, ANOVA, and the least significant difference test (LSD). The results indicated that: (1) the vast majority of the interviewees were single females in the age of 31-40 working as company employee with no more than 30,000 baht monthly income, who held bachelor degree certificate, and (2) the representative sample attached importance to each marketing mix factor at a high level in all aspects: the priority was a price, followed by marketing promotion, location and product. The differences in the following demographic characteristic: age, education level and monthly averaged income, affected different marketing factors with statistical significance. In addition, real estate entrepreneurs can apply the results of this study for planning marketing mix factors to influence consumer’s decision to purchase Mix-Used Condominium in Bangkok and Vicinityen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_162195.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.32 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons