Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8391
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีระ ประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorขจิตพรรณ ศุภมันตา-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-03T04:40:05Z-
dc.date.available2023-08-03T04:40:05Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8391-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วิเคราะห์สภาพแวดล้อมของธนาคารออมสิน สาขาโรบินสัน สมุทรปราการ (2) เสนอยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และโครงการของธนาคารออมสิน สาขาโรบินสัน สมุทรปราการ รูปแบบการศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือแบบ สัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง กลุ่มผู้ให้ข้อมูลสําคัญ ได้แก่ พนักงานและลูกจ้างธนาคารออมสิน สาขาโรบิน สัน สมุทรปราการ จํานวน 14 คน เก็บข้อมูลโดยวิธีสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม การวิเคราะห์ ข้อมูลใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า (1) สภาพแวดล้อมของธนาคารออมสินสาขาโรบินสัน สมุทรปราการ มีจุดแข็งด้านการเงิน ธนาคารออมสินสาขาโรบินสัน สมุทรปราการ มีการจัดสรรงบประมาณใน การปฏิบัติงานของสาขาฯ จากธนาคารออมสินสํานักงานใหญ่ จุดอ่อนคือพนักงานและลูกจ้างของ ธนาคารออมสินสาขาโรบินสัน สมุทรปราการในปัจจุบันอยู่ในช่วงอายุ 22-35 ปี ส่วนใหญ่มีอายุ งานอยู่ที่ 1 - 10 ปี มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานน้อยทําให้ไม่สามารถตัดสินใจในบางเรื่องได้ทันที มีความผูกพันกับองค์กรน้อยกว่าช่วงวัยอื่น ทําให้สามารถลาออกเมื่อใดก็ได้ซึ่งส่งผลกระทบต่อการ ปฏิบัติงาน ด้านโอกาส การเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ทําให้สามารถเพิ่มฐานลูกค้าใน ต่างประเทศได้ และให้ธนาคารสามารถเพิ่มรายได้จากค่าธรรมเนียมในการให้บริการต่างๆ ได้มากขึ้น ด้านอุปสรรค ลูกค้ายังคงติดภาพลักษณ์ของธนาคารออมสินว่าเป็นธนาคารของเด็ก ทําให้ไม่ได้ให้ ความสนใจในผลิตภัณฑ์ของธนาคาร และลูกค้ายังคงติดภาพลักษณ์ของธนาคารออมสินว่าเป็น ธนาคารของรัฐบาลซึ่งจะปฏิบัติงานล่าช้า และไม่ทันสมัย ทําให้ไม่ได้ให้ความสนใจเท่าที่ควร (2) ข้อเสนอยุทธศาสตร์ของธนาคารออมสินสาขาโรบินสัน สมุทรปราการ ประกอบด้วย 4 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาสาขาโรบินสัน สมุทรปราการให้มีภาพลักษณ์ที่ทันสมัย ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเพิ่มฐานลูกค้าใหม่และรักษาฐานลูกค้าเก่า ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาคุณภาพของพนักงาน ธนาคารออมสินสู่ความเป็นเลิศ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectธนาคารออมสิน สาขาโรบินสัน--ไทย--สมุทรปราการth_TH
dc.subjectธนาคารออมสิน--การบริหารth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleยุทธศาสตร์ของธนาคารออมสินสาขาโรบินสัน สมุทรปราการth_TH
dc.title.alternativeStrategies for operation of the Government Saving Bank, Robinsobn Samutprakan Branchth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to analyze environments of Government Saving Bank, Robinson Samutprakan Branch (2) to propose strategies, tactics and projects of Government Saving Bank, Robinson Samutprakan Branch This study was a qualitative research. Instruments was a structured interview form. The key informants consisted of 14 employees of Government Saving Bank, Robinson Samutprakan Branch. Data collection by interviewing and focus group discussion. Data analysis employed content analysis. The research findings were (1) strength of Government Saving Bank, Robinson Samutprakan Branch was financial aspect which was allocated from head quarter of Government Saving Bank. The weakness was employees characteristics, that was aged between 22–35 years old and mostly had 1–10 year- work experiences so that the prompt decision making was not good enough and organizational commitment was less than other age group. They decided to resign easily at any time and affected to organizational work. For the opportunity, the opening of Asean Economic Community (AEC) brought about an increasing of customers from foreign countries and caused the Bank to gain higher revenue from service fee. Threats were customers imaged the Bank as of a bank for children and were not interested to the product service. The Bank’s imaged of Government Bank which worked retard and obsolete (2) the proposed strategies for Government Saving Bank, Robinson Samutprakan Branch consisted of 4 strategies 1) developing characteristics to be a modern bank 2) developing the business into other segments of customer and maintaining old trade base 3) developing of human resource to high competency and (4) developing to increase the competitive capacityen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
155963.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.06 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons