Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8496
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอโณทัย งามวิชัยกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกอแก้ว กรกีรติ, 2525-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-06T07:28:11Z-
dc.date.available2023-08-06T07:28:11Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8496-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคที่ซื้อเครื่องสำอางเพื่อบำรุงผิวในร้านสะดวกซื้อในเขตกรุงเทพมหานคร (2) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดของเครื่องสำอางเพื่อบำรุงผิวในร้านสะดวกซื้อในเขตกรุงเทพมหานคร (3) พฤติกรรมการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอางเพื่อบำรุงผิวในร้านสะดวกซื้อของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร (4) ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับแนวโน้มพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอางเพื่อบำรุงผิวในร้านสะดวกซื้อของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร(5) ความสัมพันธ์ ของปัจจัยส่วนประสมการตลาดกบแนวโน้มพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอางเพื่อบำรุงผิวในร้านสะดวก ซื้อของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร การศึกษาครั้งนี้เป็ นการศึกษาเชิงสํารวจ ประชากรคือ ผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครที่ซื้อ เครื่องสำอางเพื่อบำรุงผิวในร้านสะดวกซื้อไม่ทราบจำนวน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีคำนวณแบบ สัดส่วนได้จำนวน 400 คน ทำการเก็บตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการห าค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวน ทางเดียวแล ะ การวิเคราะห์ เพื่อหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 31-40 ปี อาชีพรับจ้างหรือเป็นพนักงานบริษัทเอกชน การศึกษาระดับปริญญาตรี รายได้ต่อเดือน 10,000-15,000 บาท (2) พฤติกรรมการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอางเพื่อบำรุงผิวในร้านสะดวกซื้อพบว่าส่วนใหญ่ เลือกซื้อโลชันบำรุงผิวจากร้านสะดวกซื้อ (3) ระดับความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนประสมการตลาดกับการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอาง เพื่อบำรุงผิวในร้านสะดวกซื้อพบว่าภาพรวมมีความสัมพันธ์กันในระดับมาก (4) แนวโน้มการตัดสินใจซื้อ เครื่องสำอางเพื่อบำรุงผิวในร้านสะดวกซื้อของผู้บริโภค พบว่าส่วนใหญ่ไม่แน่ใจต่อแนวโน้มการตัดสินใจซื้อ เครื่องสำอางเพื่อบำรุงผิวในร้านสะดวกซื้อของผู้บริโภคในอนาคต (5) ความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนบุคคลกับแนวโน้มพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอางเพื่อบำรุงผิวในร้านสะดวกซื้อ พบว่า เพศ อาชีพ และรายได้ที่ แตกต่างกันของผู้บริโภคมีแนวโน้มพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอางเพื่อบำรุงผิวในร้านสะดวกซื้อแตกต่างกัน (6) ความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนประสมการตลาดกับแนวโน้มพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอางเพื่อบำรุง ผิวในร้านสะดวกซื้อพบวาโดยรวมอยู่ในระดับปานกลางที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเครื่องสำอาง--การตลาดth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การตลาดth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย--กรุงเทพฯth_TH
dc.titleปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีความสัมพันธ์กับแนวโน้มพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอางเพื่อบำรุงผิวในร้านสะดวกซื้อของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeMarketing mixes relating to purchasing behavior tendency of skin care product from convenience store in Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to study: (1) personal factor of consumers in Bangkok Metropolis; (2) marketing mix factors of skin care product from convenience store in Bangkok Metropolis; (3) purchasing behavior of skin care product from convenience store in Bangkok Metropolis; (4) the relationship between personal factor and purchasing behavior tendency of skin care product from convenience store in Bangkok Metropolis (5) the relationship between marketing mix factors and purchasing behavior tendency of skin care product from convenience store in Bangkok Metropolis. This study was a survey research. Population was unknown number of consumers who purchased skin care product from convenience stores in Bangkok Metropolis. Sample size was 400 and sampling was employed by multi-stage method. Research instrument was a questionnaire. Statistical analysis included percentage, frequency, mean, standard deviation, t-Test, One-Way ANOVA and Pearson’s Correlation Coefficient. The result revealed that: (1) consumer personal factors mostly were female, age 31-40 years old, private company employees, bachelor’s degree graduated, average monthly income 10,000 – 15,000 baht; (2) study of purchasing behavior of skin care product in convenience store indicates that most consumers purchased lotion from convenience store; (3) overall marketing mix factors of skin care product with purchasing tendency was rated at a high relationship level; (4) study of purchasing behavior tendency of skin care product indicates that most consumers were uncertain of their tendency to buy from convenience store in the future; (5) Sex, occupation and income factors were related to purchasing behavior tendency of skin care product from convenience store (6) All marketing mix factors were related to purchasing behavior tendency at medium level with the 0.05 level of significanceen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
full_text 152108.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.88 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons