Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8599
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนิธิพัฒน์ เมฆขจร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธรรศญา ไตรรัตน์, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-08T04:30:26Z-
dc.date.available2023-08-08T04:30:26Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8599-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาและหาประสิทธิภาพชุดกิจกรรมแนะแนว เพื่อฝึกทักษะการคิด (2) เปรียบเทียบคะแนนที่ได้จากการทำแบบทดสอบก่อนและหลังการใช้ชุด กิจกรรมแนะแนวเพื่อฝึกทักษะการคิด และ (3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดกิจกรรม แนะแนวเพื่อฝึกทักษะการคิด กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ปี การศึกษา 2554 โรงเรียนสฤษดิเดช จังหวัดจันทบุรี 1 ห้องเรียน จำนวน 42 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือ ที่ใช้คือ (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อฝึกทักษะการคิด (2) แบบทดสอบก่อนและหลัง การใช้ชุด กิจกรรมแนะแนวเพื่อฝึกทักษะการคิด (3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่ต่อชุด กิจกรรมแนะแนวเพื่อฝึกทักษะการคิด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อฝึกทักษะการคิดแต่ละชุดมีค่า ประสิทธิภาพ E1/E2 สูงกว่าเกณฑ์ที่กำ หนด 70/70 คือ ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนที่ได้จาก การปฏิบัติกิจกรรมทั้ง 5 ชุด โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ย E1 / E2 เท่ากับ 78.90/76.10 (2) คะแนนหลังการ ใช้สูงกว่าก่อนการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อฝึกทักษะการคิดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.1 และ (3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อฝึกทักษะการคิดในระดับมากที่สุด ( X = 4.63)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความคิดและการคิด -- กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectความคิดและการคิด -- การสอนด้วยสื่อth_TH
dc.titleการพัฒนาชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อฝึกทักษะการคิดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสฤษดิเดช จังหวัดจันทบุรีth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of a guidance activities package to train thinking skills of Prathom Suksa VI students of Saritdidet School in Chanthaburi Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to develop and evaluate the efficiency of a guidance activities package for training thinking skills; (2) to compare the thinking skill scores of the students before and after using the guidance activities package to develop thinking skills; and (3) to study students’ satisfaction with the guidance activities package to train thinking skills. The research sample for this study consisted of 42 Prathom Suksa VI students in an intact classroom of of Saritdidet School in Chanthaburi province in the academic year 2011, obtained by cluster sampling. The employed research instruments were (1) a guidance activities package to train thinking skills; (2) an achievement test to be taken before and after using the guidance activities package; and (3) a questionnaire on student’s satisfaction with the guidance activities package to train thinking skills. Statistics used for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and t-test. The research findings were as follows: (1) each of the five guidance activities in the guidance activities package had the E1/E2 index higher than the predetermined 70/70 efficiency index, that is, the averaged percentage of students achieving the overall averaged activities score for the five activities were equal to the E1/E2 index of 78.90/76.10 ; (2) the students’ thinking skill scores after using the guidance activities package were significantly higher than their counterpart scores before using the package at the .01 level; and (3) the students were satisfied with the guidance activities package at the highest level ( X = 4.63en_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
134839.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.31 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons