Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8634
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | โกศล มีคุณ | th_TH |
dc.contributor.author | ภาวณา ประมนต์, 2515- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-08T08:34:03Z | - |
dc.date.available | 2023-08-08T08:34:03Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8634 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ เปรียบเทียบพฤติกรรมการวางแผนชีวิตของนักศึกษาที่อยู่ในสถานการณ์ทางสังคมต่างกัน และมีจิตลักษณะต่างกัน เปรียบเทียบอำนาจการทำนายพฤติกรรมการวางแผนชีวิตของนักศึกษาด้วยกลุ่มตัวแปรสถานการณ์ทางสังคมร่วมกับกลุ่มตัวแปรจิตลักษณะกับอำนาจการทำนายโดยใช้ตัวแปรกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเพียงกลุ่มเดียว และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการวางแผนชีวิตของนักศึกษากับความสำเร็จในการศึกษาของนักศึกษา กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย เป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ที่เข้ารับการอบรมเข้มชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพ ปีการศึกษา 2554 จำนวน 480 คน ได้มาโดยการกำหนดกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งเป็นชั้นภูมิ เครื่องมือรวบรวบข้อมูล เป็นแบบวัดมาตรประเมินรวมค่า มีค่าความเที่ยงตั้งแต่ .78 ถึง .89 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติพื้นฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสามทาง การวิเคราะห์แบบถดถอยพหุคูณ และการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของกลุ่มเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ ผลการวิจัยพบว่า (1) นักศึกษาที่มีพฤติกรรมการวางแผนชีวิตสูงทั้งพฤติกรรมโดยรวมและพฤติกรรมแต่ละด้าน คือ นักศึกษาที่ได้รับการสนับสนุนจากคนรอบข้างมาก มีแบบอย่างที่ดีมาก มีการเข้ารับการสอนเสริมมาก และมีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์สูง (2) ชุดตัวทำนายที่ประกอบด้วยสถานการณ์ทางสังคม 3 ตัวแปร จิตลักษณะ 3 ตัวแปร ร่วมกันทำนายพฤติกรรมการวางแผนชีวิตโดยรวมของนักศึกษาได้ดีกว่าการทำนายโดยใช้ตัวทำนาย ชุดที่ 1 หรือ ชุดที่ 2 เพียงอย่างเดียว โดยมีอำนาจการทำนายมากกว่า 5% ขึ้นไปโดยสามารถทำนายได้ ร้อยละ 38.2 ตัวทำนายสำคัญของพฤติกรรมการวางแผนชีวิตของนักศึกษา คือ การเข้ารับการสอนเสริม แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ การมีแบบอย่างที่ดี และการได้รับการสนับสนุนจากคนรอบข้าง (3) การวางแผนชีวิตด้านการศึกษา การวางแผนชีวิตด้านอาชีพ และการวางแผนชีวิตด้านครอบครัว สามารถทำนายความสำเร็จในการศึกษาของนักศึกษาได้ 11% ตัวทำนายที่สำคัญ คือ การวางแผนชีวิตด้านอาชีพ และการวางแผนชีวิตด้านการศึกษา | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.145 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | นักศึกษา--การดำเนินชีวิต | th_TH |
dc.title | ปัจจัยเชิงเหตุและผลของพฤติกรรมการวางแผนชีวิตของนักศึกษาระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.title.alternative | Causal and effect factors of life planning behaviors of undergraduate students at Sukhothai Thammathirat Open University. | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to compare life planning behaviors of undergraduate students who lived in different social situations and who had different psychological traits; to compare predictabilities of using the combined social situation factors and psychological trait factors to predict life planning behaviors of undergraduate students with that of using either group of factors alone; and to study the relationship between life planning behaviors of undergraduate students with their educational achievement. The research sample consisted of 480 undergraduate students of Sukhothai Thammathirat Opening University who attended the Professional Experience Intensive Training Course in the 2011 academic year, obtained by stratified random sampling. The research instruments for data collection were summated rating scale questionnaires with reliabilities ranging from .78 to .89. Statistics for data analysis were the basic statistics, three-way ANOVA, multiple regression analysis, and Scheffe’s method of pair-wise comparison. The research findings revealed that (1) students who had high level of both the overall and by-aspect life planning behaviors were those who received high level of supports from surrounding people, those who had good peer models, those who attended the tutorial sessions more often, and those with high achievement motivation; (2) the set of predictors combining three social situation factors and three psychological trait factors could predict the students’ overall life planning behaviors better than either the set of predictors comprising only the social situation factors or that comprising only the psychological trait factors by more than 5 per cent, with the combined predictability of 38.2 percent; the main predictors of students life planning behaviors were: the attendance of the tutorial sessions, the achievement motivation, the having of good peer models, and the receiving of supports from surrounding people; and (3) the factors of educational life planning, career planning, and family planning could be combined to predict educational achievement of the students with combined predictability of 11 percent, with the main predictors being career planning and educational planning. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | เจียรนัย ทรงชัยกุล | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
137439.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 6.28 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License