Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8705
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุมาลี สังข์ศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorโสภาพันธ์ สอาด, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพระครูนิบุณจริยาทร (นิคม แย้มย้อย), 2508--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-10T02:22:05Z-
dc.date.available2023-08-10T02:22:05Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8705-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแรงจูงใจภายในและภายนอกของนักเรียนใน การเรียนวิชาพระพุทธศาสนาในศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ เขตกรุงเทพมหานคร (2) เปรียบเทียบแรงจูงใจระหว่างนักเรียนแต่ละระดับในการเรียนวิชาพระพุทธศาสนาในศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์เขตกรุงเทพมหานคร และ (3) ศึกษาแนวทางการเสริมสร้างแรงจูงใจของนักเรียนในการเรียนวิชาพระพุทธศาสนาในศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์เขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย นักเรียนจากศูนย์ศึกษุทธศาสนาวันอาทิตย์ 9 แห่ง จำนวน 468 คน ได้จากการสุ่มอย่างง่าย และ พระผู้สอนจำนวน 30 รูป เลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามนักเรียนและพระผู้สอนที่เป็นแบบมาตรประมาณค่า และมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) แรงจูงใจโดยรวมในการเรียนวิชาพระพุทธศาสนาของนักเรียนในศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ อยู่ในระดับมาก ด้านแรงจูงใจภายใน พบว่านักเรียนมีแรงจูงใจภายในโดยรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านความภาคภูมิใจ อยู่ในระดับมาก และรองลงมาด้านความศรัทธา/ความเชื่อ อยู่ในระดับมากเช่นกัน ส่วนแรงจูงใจภายนอกโดยรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านผู้ปกครอง (ความคาดหวัง,การสนับสนุน) อยู่ในระดับมาก รองลงมา คือ ด้านครู อยู่ในระดับมากเช่นเดียวกัน (2) ผลการเปรียบเทียบแรงจูงใจระหว่างนักเรียนแต่ละระดับ พบว่า ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับที่ .05 และ (3) แนวทางการเสริมสร้างแรงจูงใจแก่นักเรียนตามความคิดเห็นของนักเรียนนั้นเห็นว่าด้านผู้ปกครองมีความสำคัญมาก รองลงมาคือ ด้านวิธีการสอนของครู ความคิดเห็นของพระผู้สอน มีความคิดเห็นว่าแนวทางเสริมสร้างแรงจูงใจ คือ ด้านครูผู้สอนและด้านวิธีการสอนอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านผู้ปกครอง อยู่ในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.161en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการศึกษานอกระบบ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพุทธศาสนา -- การศึกษาและการสอนth_TH
dc.titleแรงจูงใจในการเรียนวิชาพระพุทธศาสนาของนักเรียนในศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ เขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeMotivation in learning Buddhism of students at Sunday Buddhism Study Centers in Bangkok Metropolitan Areath_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study intrinsic and extrinsic motivations in learning Buddhism of students at Sunday Buddhism study centers in Bangkok metropolitan area; (2) to compare motivations of students at different educational levels in learning Buddhism at Sunday Buddhism study centers in Bangkok metropolitan area; and (3) to study guidelines for promoting motivation in learning Buddhism of students at Sunday Buddhism study centers in Bangkok metropolitan area. The research sample consisted of 468 randomly selected students at nine Sunday Buddhism study centers in Bangkok metropolitan area and 30 purposively selected monk instructors. The employed research instruments were rating scale questionnaires, with reliability coefficient of 0.92, for students and instructors. Statistics for data analysis were the percentage, mean, standard deviation and t-test. The research findings were as follows: (1) the overall motivation in learning Buddhism of students in Sunday Buddhism study centers was at the high level; their overall intrinsic motivation in learning Buddhism was at the high level; when individual aspects of intrinsic motivation were considered, it was found that the aspect of pride was at the high level, followed by the aspect of faith/belief which was also at the high level; their overall extrinsic motivation was at the high level; when individual aspects of extrinsic motivation were considered, it was found that the aspect of parents (expectation, supports) was at the high level, followed by the aspect of instructors which was also at the high level; (2) comparison results of motivations of students at different educational levels showed that students at different educational levels did not differ significantly, at the .05 level, in their motivations in learning Buddhism; and (3) as for guidelines for promoting motivation in learning Buddhism, the students considered that the parents aspect was at the highly important level, followed by the instructor’s teaching method; while the instructors considered that the aspects of instructor and the instructor’s teaching method were at the highest level of importance, followed by the parents aspect, which was at the high levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140923.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons