Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8733
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วัลภา สบายยิ่ง | th_TH |
dc.contributor.author | เป็นไท เทวินทร์, 2521- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-10T04:35:21Z | - |
dc.date.available | 2023-08-10T04:35:21Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8733 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบทักษะการตัดสินใจเลือกแนวทางการศึกษาต่อของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านสันป่าสัก จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งเป็นกลุ่มทดลอง ก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาทักษะการตัดสินใจเลือกแนวทางการศึกษาต่อ (2) เปรียบเทียบทักษะการตัดสินใจของนักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาทักษะการตัดสินใจเลือกแนวทางการศึกษาต่อ และของนักเรียนกลุ่มควบคุมที่ใช้กิจกรรมแนะแนวแบบปกติ และ (3) เปรียบเทียบทักษะการตัดสินใจเลือกแนวทางการศึกษาต่อของนักเรียนกลุ่มทดลอง หลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว กับระยะติดตามผล กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 54 คน ในสองห้องเรียนของโรงเรียนบ้านสันป่าสัก จังหวัดเชียงใหม่ ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่มโดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยการสุ่ม แล้วกำหนดโดยสุ่มให้นักเรียนห้องหนึ่งเป็นกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาทักษะการตัดสินใจเลือกแนวทางการศึกษาต่อ ส่วนนักเรียนอีกห้องหนึ่งเป็นกลุ่มควบคุมที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวแบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาทักษะการตัดสินใจเลือกแนวทางการศึกษาต่อ (2) แบบวัดทักษะการตัดสินใจเลือกแนวทางการศึกษาต่อ มีค่าอำนาจจำแนกระหว่างรายข้อกับคะแนนรวมทั้งฉบับโดยมีค่าอยู่ระหว่าง .25 - .60 และมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .90 และ (3) ชุดกิจกรรมแนะแนวแบบปกติ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ (1) นักเรียนกลุ่มทดลองมีทักษะการตัดสินใจเลือกแนวทางการศึกษาต่อหลังการทดลองสูงกว่าทักษะดังกล่าวก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (2) ภายหลังการทดลองนักเรียนกลุ่มทดลองมีทักษะการตัดสินใจเลือกแนวทางการศึกษาต่อสูงกว่าของนักเรียนกลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 และ (3) ในระยะติดตามผล นักเรียนกลุ่มทดลองมีทักษะการตัดสินใจเลือกแนวทางการศึกษาไม่แตกต่างจากระยะหลังการทดลอง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.237 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น--การศึกษาต่อ--การตัดสินใจ | th_TH |
dc.title | ผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาทักษะการตัดสินใจเลือกแนวทางการศึกษาต่อของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านสันป่าสัก จังหวัดเชียงใหม่ | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of using a guidance activities package to develop decision-making skill in furthering study of Mathayom Suksa III students at Ban Sanpasak School in Chiang Mai Province. | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were (1) to compare decision-making skills in furthering study of Mathayom Suksa III students at Ban Sanpasak School in Chiang Mai province, who were in the experimental group, before and after using a guidance activities package to develop decision-making skill in furthering study; (2) to compare the decision-making skill in furthering study of the experimental group students who used the guidance activities package to develop decision-making skill in furthering study with that of control group students in the same school, who used a normal guidance activities package for the same purpose; and (3) to compare the decision-making skill in furthering study of the experimental group students at the post-experiment period with their counterpart skill at the end of the follow-up period. The subjects of this study were 54 Mathayom Suksa III students in two intact classrooms of Ban Sanpasak School, Chiang Mai Province, obtained by cluster sampling using the classroom as the sampling unit. Then one classroom was randomly assigned as the experimental group to use a guidance activities package to develop decision-making skill in furthering study; while the other classroom, the control group to use a normal guidance activities package. The employed research instruments were (1) a guidance activities package to develop decision-making skill in furthering study; (2) a scale to assess decision-making skill in furthering study with the item-total discrimination indices ranging from .25 to .60, and reliability coefficient of .90; and (3) a normal guidance activities package. Research data were statistically analyzed using the mean, standard deviation, and t-test. The research findings could be concluded as follows: (1) the post-experiment decision-making skill in furthering study of the experimental group students was significantly higher than their pre-experiment counterpart skill at the .01 level; (2) after the experiment, the decision-making skill in furthering study of the experimental group students was significantly higher than the counterpart skill of the control group students at the .01 level; and (3) no significant difference was found between the experimental group students’ decision-making skill in furthering study at the post-experiment period and their same skill at the end of the follow-up period. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | นิรนาท แสนสา | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
141015.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.85 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License