Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8736
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิธิพัฒน์ เมฆขจร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorณิลุบล เจริญรุ่งมาลา, 2526--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-10T06:29:01Z-
dc.date.available2023-08-10T06:29:01Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8736-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ศึกษากับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนพานพิทยาคม จังหวัด เชียงราย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบเจตคติทางเพศที่เหมาะสมของนักเรียนกลุ่มทดลอง ก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อส่งเสริมเจตคติทางเพศที่เหมาะสม (2) เปรียบเทียบเจต คติทางเพศที่เหมาะสมภายหลังการทดลองของนักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวและกลุ่ม ควบคุมที่ได้รับข้อสนเทศทางการแนะแนว และ (3) เปรียบเทียบเจตคติทางเพศที่เหมาะสมของ นักเรียนกลุ่มทดลองระยะหลังการทดลองกับระยะติดตามผล กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 40 คนในโรงเรียนพานพิทยาคม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย ใน ปีการศึกษา 2555 ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง แล้วสุ่มอย่างง่าย เป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 20 คน กลุ่มทดลองใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อส่งเสริมเจต คติทางเพศที่เหมาะสม ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับข้อสนเทศทางการแนะแนว เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) แบบวัดเจตคติทางเพศที่เหมาะสม มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .88 (2) ชุดกิจกรรมแนะ แนวเพื่อส่งเสริมเจตคติทางเพศที่เหมาะสม และ (3) ข้อสนเทศทางการแนะแนว สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) หลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวนักเรียนกลุ่มทดลองมีเจตคติ ทางเพศที่เหมาะสมสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (2) หลังการทดลอง นักเรียนกลุ่ม ทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวมีเจตคติทางเพศที่เหมาะสมสูงขึ้นกว่าของกลุ่มควบคุมที่ได้รับ ข้อสนเทศอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (3) ภายหลังการทดลอง 4 สัปดาห์ นักเรียนกลุ่ม ทดลองมีเจตคติทางเพศที่เหมาะสมหลังการทดลองสูงกว่าระยะติดตามผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.204en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการแนะแนว -- กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อส่งเสริมเจตคติทางเพศที่เหมาะสมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนพานพิทยาคม จังหวัดเชียงรายth_TH
dc.title.alternativeEffects of using a guidance activities package to promote appropriate sexual attitudes of Mathyom Suksa IV students at Phan Phittayakom School in Chiang Rai Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research was conducted with Mathayom Suksa IV students at Phan Phittayakom School in Chiang Rai province with the following purposes: (1) to compare appropriate sexual attitudes of the experimental group students before and after using a guidance activities package to promote appropriate sexual attitudes; (2) to compare the post-treatment appropriate sexual attitudes of the experimental group students who used the guidance activities package with the counterpart attitudes of the control group students who received guidance information; and (3) to compare appropriate sexual attitudes of the experimental group students after the treatment and during the follow up period. The research sample consisted of 40 purposively selected Mathayom Suksa IV students of Phan Pittayakom School, Phan district, Chiang Rai province in the academic year 2013. Then, they were randomly divided into an experimental group and a control group each of which consisting of 20 students. The experimental group students used a guidance activities package to promote appropriate sexual attitudes; while the control group students received guidance information. The instruments used in this research were (1) a scale to assess appropriate sexual attitudes, with reliability coefficient of .88, (2) a guidance activities package to promote appropriate sexual attitudes, and (3) guidance information. Statistics used for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and t-test. The research findings revealed that (1) after using the guidance activities package to promote appropriate sexual attitudes, the experimental group students had significantly increased their level of appropriate sexual attitudes at the .01 level; (2) after the treatment, the experimental group students using the guidance activities package had significantly higher level of appropriate sexual attitudes than the counterpart attitude level of the control group students at the .01level; and (3) four weeks after completion of the treatment, the post-treatment appropriate sexual attitudes of the experimental group students were found to be significantly higher than their counterpart attitude level during the follow up period at the .01 levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
142729.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.64 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons