Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8750
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สังวรณ์ งัดกระโทก | th_TH |
dc.contributor.author | ธนัญชัย ไชยหงษ์, 2524- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-10T07:19:18Z | - |
dc.date.available | 2023-08-10T07:19:18Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8750 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 | th_TH |
dc.description.abstract | งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินความเหลื่อมล้ำด้านคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาจากผลการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามขนาด สังกัด และที่ตั้งของสถานศึกษา (2) ศึกษาผลของการดำเนินงานตามกรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองต่อความเหลื่อมล้ำด้านคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ (3) ศึกษาแนวทางการแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประชากรเป็นสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอก ครบทั้ง 3 รอบการประเมินแล้ว จำนวน 8,193 แห่ง และกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 381 แห่ง เลือกมาโดยใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้นผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษาและครู ซึ่งเลือกมาแห่งละ 2 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) แบบบันทึกผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2) แบบสอบถามการดำเนินงานตามกรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง และ (3) แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงบรรยาย การวิเคราะห์ดัชนีจีนี่ การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติก และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า (1) จากผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3 รอบ เมื่อจำแนกตามขนาด สังกัด และที่ตั้งของสถานศึกษา พบว่า ความเหลื่อมล้ำด้านคุณภาพการศึกษามีแนวโน้มลดลง (2) การดำเนินงานตามกรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานมีผลต่อความเหลื่อมล้ำด้านคุณภาพการศึกษา ตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ความเหลื่อมล้ำด้านคุณภาพการศึกษาได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ ตัวแปรอัตราส่วนครูต่อนักเรียน การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ของสถานศึกษา การส่งเสริมการเพิ่มโอกาสทางการศึกษา และการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา (3) แนวทางการแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ 1) ผู้บริหารสถานศึกษาต้องมีความเป็นผู้นำทางวิชาการและคณะกรรมการสถานศึกษาต้องมีบทบาทอย่างแท้จริงในการเข้ามาร่วมจัดการศึกษาและบริหารจัดการคุณภาพการศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน 2) ครูผู้สอนต้องรู้จักปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนให้เกิดความหลากหลาย และ 3) สถานศึกษาควรเน้นการขยายโอกาสทางการศึกษาควบคู่กับการยกระดับคุณภาพการศึกษา | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.183 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การประเมินผลทางการศึกษา | th_TH |
dc.subject | การศึกษาขั้นพื้นฐาน--การประเมิน | th_TH |
dc.title | การประเมินความเหลื่อมล้ำด้านคุณภาพสถานศึกษาของประเทศไทยจากผลการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน | th_TH |
dc.title.alternative | Assessment of inequality in quality of schools in Thailand using data from external evaluations of basic education level schools | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research aimed to: (1) evaluate inequality in educational quality of schools, classified by school jurisdiction, size, and location, by using external evaluation data from the Office for National Education Standards and Quality Assessment (ONESQA); (2) examine effects of the implementation of educational provision in accordance with the 2nd decade of education reform framework on the inequality in educational quality of basic education level schools; and (3) provide guidelines for solving the problems of educational quality inequality in basic education level schools. The research population comprised 8,193 basic education level schools that had undergone three rounds of evaluation by ONESQA. The research sample consisted of 381 schools obtained by stratified random sampling. Two key informants including a school administrator and a teacher were selected from each school in the sample. The instruments used in this research included (1) a form for recording data on external assessment of the school quality, (2) a questionnaire on the implementation of educational provision in accordance with the 2nd decade of education reform framework, and (3) structured interview forms. The data analysis was carried out using descriptive statistics, Gini Index, logistic regression analysis, and content analysis. Research findings revealed that (1) based on the data from three rounds of external evaluation, the inequality in educational quality was decreased; (2) the provision of education in accordance with the 2nd decade of education reform framework of basic education level schools affected the disparity in quality of education; variables that could significantly predict the disparity of educational quality, at the .05 level, included the student-teacher ratio, the development of the school’s educational resources, the enhancement of the increase in educational opportunity, and the educational management collaboration; (3) recommended guidelines for solving problems on education quality disparity of basic education level schools were the following: 1) the school administrators must exhibit academic leadership and the school board members must actively participate in school-based management of educational quality of the schools; 2) the teachers need to adapt their teaching styles to be more diversified; and 3) the schools should focus on the increase in educational opportunity , coupled with the upgrading of educational quality. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | นลินี ณ นคร | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
143317.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.11 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License