Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8767
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนิรนาท แสนสา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวันวิสา ชูการ, 2530--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-11T00:45:53Z-
dc.date.available2023-08-11T00:45:53Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8767-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ศึกษากับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนตรังคริสเตียนศึกษา จังหวัดตรังโดยมี วัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบระดับการแสวงหาและการใช้สารสนเทศระหว่างนักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุด กิจกรรมแนะแนวและนักเรียนกลุ่มควบคุมที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวอื่นๆ (2) เปรียบเทียบระดับการแสวงหาและ การใช้สารสนเทศของนักเรียนกลุ่มทดลองที่มีลักษณะทางชีวสังคมที่แตกต่างกัน หลังใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว (3) เปรียบเทียบระดับการแสวงหาและการใช้สารสนเทศ ของนักเรียนกลุ่มทดลองที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แตกต่างกันหลังใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว และ (4) เปรียบเทียบระดับการแสวงหาและการใช้สารสนเทศ ของนักเรียนกลุ่มทดลองระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผล กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนตรังคริสเตียนศึกษา จังหวัดตรัง ปีการศึกษา 2556 ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม จำนวน 60 คน แล้วกำหนดโดยสุ่มให้เป็นกลุ่มทดลอง 30 คนใช้ชุดกิจกรรมแนะ แนวเพื่อพัฒนาการแสวงหาและการใช้สารสนเทศ และกลุ่มควบคุม 30 คน ใช้กิจกรรมแนะแนวอื่น เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) แบบสอบวัดพฤติกรรมการแสวงหาและการใช้สารสนเทศ มีค่าความเที่ยง .92 (2) แบบสอบถามทางชีวสังคมและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (3) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการแสวงหาและ การใช้สารสนเทศ (4) กิจกรรมแนะแนวอื่น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวน 2 ทาง ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนตรังคริสเตียนศึกษาในกลุ่มทดลอง ที่ได้ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการแสวงหาและการใช้สารสนเทศ มีระดับการแสวงหาและใช้สารสนเทศ สูงกว่านักเรียนในกลุ่มควบคุมที่ได้ใช้ชุดกิจกรรม แนะแนวอื่นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) นักเรียน กลุ่มทดลองที่มีลักษณะทางชีวสังคมต่างกันมีระดับการแสวงหาและใช้สารสนเทศไม่แตกต่างกัน (3) นักเรียนกลุ่ม ทดลองที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่างกัน มีระดับการแสวงหาและการใช้สารสนเทศไม่แตกต่างกัน และ (4) นักเรียนกลุ่มทดลองในระยะหลังการทดลองและระยะติดตามผล มีระดับการแสวงหาและใช้สารสนเทศ ไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.173en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสารสนเทศ -- การศึกษาการใช้th_TH
dc.subjectพฤติกรรมข่าวสารth_TH
dc.titleผลของการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการแสวงหาและการใช้สารสนเทศของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนตรังคริสเตียนศึกษา จังหวัดตรังth_TH
dc.title.alternativeEffects of using a guidance activities package to develop information search and usage behaviors of Mathayom Suksa III students at Trang Chistian Suksa School in Trang Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research was conducted with Mathayom Suksa III students at Trang Christian Suksa School in Trang province with the following objectives: (1) to compare the level of information search and usage behaviors of students in the experimental group who used a guidance activities package to develop in formation search and usage behaviors with that of students in the control group who used other guidance activities; (2) to compare the levels of information search and usage behaviors of experimental group students with different bio-social characteristics; (3) to compare the levels of information search and usage behaviors of experimental group students with different learning achievement scores; and (4) to compare the levels of information search and usage of experimental group students at the completion of the experiment, and during the follow up period. The research sample consisted of 60 Mathayom Suksa III students at Trang Christian Suksa School in Trang province during the 2013academic year, obtained by cluster sampling. After that, they were randomly assigned into two groups: the experimental group consisting of 30 students to use a guidance activities package to develop information search and usage behaviors, and the control group consisting of 30 students to use other guidance activities. The employed research instruments comprised (1) a scale to assess information search and usage behaviors, with reliability coefficient of .92; (2) a questionnaire on student’s bio-social characteristics and learning achievement; (3) a guidance activities package to develop information search and usage behaviors; and (4) other guidance activities. Statistics for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, t-test, and two-way analysis of variance. The research findings showed that (1) Mathayom Suksa III students of Trang Christian Suksa School in the experimental group that used the guidance activities package to develop information search and usage behaviors had significantly higher level of information search and usage behaviors than the counterpart level of students in the control group that used other guidance activities at the .05 level; (2) the experimental group students with different bio-social characteristics did not significantly differ in their levels of information search and usage behaviors after using the guidance activities package; (3) the experimental group students with different learning achievement scores did not significantly differ in their levels of information search and usage behaviors after using the guidance activities package; and (4) no significant difference was found in the levels of information search and usage behaviors of the experimental group students at the end of the experiment and during the follow up perioden_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
144203.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.61 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons