Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8768
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนิรนาท แสนสา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเกสร เถียรสายออ, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-11T01:02:42Z-
dc.date.available2023-08-11T01:02:42Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8768-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อ (1) เปรียบเทียบพฤติกรรมใฝ่เรียนใฝ่รู้ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดประชานิมิตร ในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมหลังการทดลอง (2) เปรียบเทียบพฤติกรรมใฝ่เรียนใฝ่รู้ ของกลุ่มทดลอง ที่มีภูมิหลังทางชีวสังคมที่แตกต่างกัน 3) เปรียบเทียบพฤติกรรมใฝ่เรียนใฝ่รู้ ของกลุ่มทดลอง ที่ผู้ปกครองมีความเอาใจใส่ดูแลทางการเรียนที่ ต่างกัน และ (4) เปรียบเทียบพฤติกรรมใฝ่เรียนใฝ่รู้ ของกลุ่มทดลองระยะหลังทดลองและติดตามผล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 60 คน ใน 2 ห้องเรียน ของโรงเรียนวัดประชานิมิตร โดยสุ่มตัวอย่างห้องละ 30 คน แล้วกำหนดโดยสุ่มให้เป็นกลุ่มทดลอง 30 คน กลุ่มควบคุม 30 คน กลุ่มทดลองใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาพฤติกรรมใฝ่เรียนใฝ่รู้ส่วน กลุ่ม ควบคุมได้รับข้อสนเทศการแนะแนว เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ (1) แบบวัดพฤติกรรมใฝ่เรียนใฝ่รู้ (2) แบบสอบถามทางชีวสังคม (3) แบบสอบถามความเอาใจใส่ดูแลทางการเรียนของผู้ปกครอง (4) ชุด กิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาพฤติกรรมใฝ่เรียนใฝ่รู้ และ (5) ข้อสนเทศการแนะแนว สถิติที่ใช้วิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความ แปรปรวนแบบสองทาง ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) พฤติกรรมใฝ่เรียนใฝ่รู้ รู้หลังการทดลองของนักเรียนกลุ่มทดลองสูง กว่าพฤติกรรมดังกล่าวของกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05 (2) นักเรียนกลุ่มทดลอง ที่มี เพศและระดับการศึกษาของผู้ปกครองแตกต่างกันมีพฤติกรรมใฝ่เรียนใฝ่รู้ รู้หลังการทดลองไม่แตกต่างกัน แต่นักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยและอาชีพของผู้ปกครองแตกต่างกันมีพฤติกรรมใฝ่เรียนใฝ่รู้ หลังการ ทดลองแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 (3) นักเรียนกลุ่มทดลอง ที่ผู้ปกครองมีความเอา ใจใส่ดูแลทางการเรียนต่างกัน มีพฤติกรรมใฝ่เรียนใฝ่รู้ ไม่แตกต่างกัน และ (4) นักเรียนกลุ่มทดลองมี พฤติกรรมใฝ่เรียนใฝ่ รู้ในระยะหลังทดลองและระยะติดตามผลไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.157en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพฤติกรรมการเรียน -- การสอนด้วยสื่อth_TH
dc.subjectพฤติกรรมการเรียน -- กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาพฤติกรรมใฝ่เรียนใฝ่รู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดประชานิมิตรth_TH
dc.title.alternativeEffects of using a guidance activities package to develop knowledge acquisition behaviors of Mathayom Suksa IV students at Wat Prachnimit Schoolth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to compare the post-experiment knowledge acquisition behaviors of Mathayom Suksa IV students at Wat Prachanimit School in the experimental group and control group; (2) to compare knowledge acquisition behaviors of the experimental group students with different bio-social backgrounds; (3) to compare knowledge acquisition behaviors of the experimental group students whose parents had different levels of help-care for their learning; and (4) to compare knowledge acquisition behaviors of the experimental group students at the completion of the experiment and during the follow up period. The research sample consisted of 60 Mathayom Suksa IV students randomly selected from two intact classrooms of Wat Prachanimit School. Then one classroom consisting of 30 students was randomly assigned as the experimental group to use a guidance activities package to develop knowledge acquisition behaviors; while the other classroom consisting of 30 students, the control group to receive a guidance information program. The employed research instruments were (1) a scale to assess knowledge acquisition behaviors; (2) a questionnaire on student’s bio-social background; (3) a questionnaire on parents’ help-care of their offspring’s learning; (4) a guidance activities package to develop knowledge acquisition behaviors; and (5) a guidance information program. Statistics for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, t-test, and two-way analysis of variance. Research findings revealed that (1) the post-experiment knowledge acquisition behaviors of the experimental group students were significantly higher than the counterpart behaviors of the control group students at the .05 level; (2) the experimental group students of different genders and whose parents having different educational levels did not significantly differ in their post-experiment knowledge acquisition behaviors; while those with different GPAs and whose parents having different occupations differed significantly in their post-experiment knowledge acquisition behaviors at the .05 level; (3) the experimental group students whose parents had different levels of help-care for their learning did not significantly differ in their post-experiment knowledge acquisition behaviors; and (4) no significant difference was found between the post-experiment knowledge acquisition behaviors of the experimental group students and their counterpart behaviors during the follow up perioden_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
144204.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.62 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons