Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8770
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญศรี พรหมมาพันธุ์th_TH
dc.contributor.authorสุอัญญา เหมะ, 2523-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-11T01:32:58Z-
dc.date.available2023-08-11T01:32:58Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8770en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาเกณฑ์ประเมินสมรรถนะพยาบาลในการส่งเสริม การเรียนรู้ของมารดากลุ่มที่เป็นโรคเบาหวานที่เข้ารับบริการในโรงพยาบาลศิริราช และ (2) ตรวจสอบ คุณภาพเกณฑ์ประเมินสมรรถนะพยาบาลในการส่งเสริมการเรียนรู้ของมารดากลุ่มที่เป็นโรคเบาหวานที่ เข้ารับบริการในโรงพยาบาลศิริราช กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย 1) ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 17 คน 2) พยาบาลผู้ดูแลมารดากลุ่มที่เป็น โรคเบาหวานที่เข้ารับบริการในโรงพยาบาลศิริราช จำนวน 71 คน และ 3) มารดากลุ่มที่เป็นโรคเบาหวาน ที่เข้ารับบริการในโรงพยาบาลศิริราช ในปี 2556 จำนวน 100 คน โดยเลือกจากมารดากลุ่มที่เป็น โรคเบาหวานที่เข้ารับบริการในโรงพยาบาลศิริราช แบบเป็นระบบ คือ เลือกคนที่ 5 ไปจนครบ 100 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ 1) แบบสอบถามเกี่ยวกับเกณฑ์ประเมินสมรรถนะพยาบาลในการส่งเสริมการเรียนรู้ ของมารดากลุ่มที่เป็นโรคเบาหวานแบบปลายเปิด และ 2) แบบสอบถามความเหมาะสมของเกณฑ์ประเมิน สมรรถนะพยาบาลในการส่งเสริมการเรียนรู้ของมารดากลุ่มที่เป็นโรคเบาหวานที่เข้ารับบริการใน โรงพยาบาลศิริราชแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน มัธยฐาน พิสัยระหว่างควอไทล์ ความเที่ยง และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) เกณฑ์ประเมินสมรรถนะพยาบาลในการส่งเสริมการเรียนรู้ของมารดา กลุ่มที่เป็นโรคเบาหวานประกอบด้วย 3 ด้าน ได้แก่ เกณฑ์ประเมินสมรรถนะด้านความรู้ เกณฑ์ประเมิน สมรรถนะด้านความตระหนัก และ เกณฑ์ประเมินสมรรถนะด้านการสอน และ 2) คุณภาพของเกณฑ์ ประเมินสมรรถนะพยาบาลในการส่งเสริมการเรียนรู้ของมารดากลุ่มที่เป็นโรคเบาหวาน พบว่า (1) ค่า ความเที่ยงเท่ากับ .913 และ (2) เมื่อนำเกณฑ์การประเมินสมรรถนะพยาบาลในการส่งเสริมการเรียนรู้ของ มารดากลุ่มที่เป็นโรคเบาหวานทั้ง 3 ด้าน ไปใช้กับกลุ่มพยาบาลผู้ดูแลมารดากลุ่มที่เป็นโรคเบาหวานและ กลุ่มมารดาที่เป็นโรคเบาหวาน มีความเหมาะสมทุกด้านth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.175en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการประเมินผลงานth_TH
dc.subjectพยาบาล--การประเมินth_TH
dc.subjectสมรรถนะ--การประเมินth_TH
dc.titleการพัฒนาเกณฑ์ประเมินสมรรถนะพยาบาลในการส่งเสริมการเรียนรู้ของมารดากลุ่มที่เป็นโรคเบาหวานที่เข้ารับบริการในโรงพยาบาลศิริราชth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of criteria for assessment of nurse's competency in enhancing learning of diabetes mothers receiving services at Siriraj Hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to develop criteria for assessment of nurse’s competency in enhancing learning of diabetes mothers receiving services at Siriraj Hospital; and (2) to validate the developed criteria for assessment of nurse’s competency in enhancing learning of diabetes mothers receiving services at Siriraj Hospital. The research sample consisted of 17 experts, 71 nurses in charge of diabetes mothers receiving services at Siriraj Hospital, and 100 diabetes mothers receiving services at Siriraj Hospital selected by a systematic sampling. The employed research instrument included the open-ended questionnaire designed to collect data to establish criteria for assessment of nurse’s competency in enhancing learning of diabetes mothers, and the 5-point rating scale questionnaire designed to validate criteria for assessment of nurse’s competency in enhancing learning of diabetes mothers receiving services at Siriraj Hospital. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, median, inter-quartile range, reliability coefficient, and t-test. Research findings showed that 1) the developed criteria for assessment of nurse’s competency in enhancing learning of diabetes mothers included 3 dimensions: criteria for assessment the knowledge, criteria for assessment the awareness, and criteria for assessment the teaching, and 2) quality of the developed criteria for assessment of nurse’s competency in enhancing learning of diabetes mothers were supported by (1) reliability coefficient of .91, and (2) when the developed criteria for assessment of nurse’s competency in enhancing learning of diabetes mothers receiving services at Siriraj Hospital were implemented with nurses in charge of diabetes mothers and diabetes mothers, it was found that all dimensions were appropriate.en_US
dc.contributor.coadvisorบุญทิพย์ สิริธรังศรีth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
144208.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.67 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons