Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8776
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุมาลี สังข์ศรีth_TH
dc.contributor.authorตรีคม พรมมาบุญ 2518-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-11T02:57:49Z-
dc.date.available2023-08-11T02:57:49Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8776en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การศึกษานอกระบบ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาด้านสุขภาวะ ความต้องการและ แนวทางในการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อการเสริมสร้างสุขภาวะของผู้สูงอายุโรคเรื้อรังจากความคิดเห็นของ ผู้สูงอายุ ผู้ดูแลในครอบครัว และบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข (2) สังเคราะห์รูปแบบการจัดการศึกษา ตลอดชีวิตเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะของผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง และ (3) ประเมินและนำเสนอรูปแบบการจัดการศึกษา ตลอดชีวิตเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะของผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้ังนี้ ประกอบด้วย 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง (เบาหวาน ร่วมกับความดันโลหิตสูง) ในจังหวัดชัยภูมิ ใช้วิธีการสุ่มการสุ่มแบบแบ่งชั้น จำนวน 330 คน กลุ่มผู้ดูแลผู้สูงอายุ โรคเรื้อรัง จำนวน 330 คน กลุ่มบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข เลือกแบบเจาะจง 30 คน และกลุ่ม ผู้เชี่ียวชาญประเมินรูปแบบ จำนวน 15 คน เครื่ืองมือวิจัย คือ (1) แบบสอบถาม จำนวน 3 ชุด สำหรับแต่ละกลุ่ม ตัวอย่าง ซึ่งมีค่าความเที่ียงเท่ากับ 0.84 , 0.87 และ 0.82 ตามลำดับ และ (2) แบบประเมินรูปแบบ วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย ปรากฏว่า (1) สภาพปัจจุบันผู้สูงอายุโรคเรื้อรังมีพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาวะภาพรวม เป็นประจำสม่ำเสมอ ปัญหาสุขภาวะด้านสุขภาพร่างกายและด้านความรู้โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ด้าน สุขภาพจิตใจและด้านสภาพแวดล้อมโดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย ความต้องการศึกษาตลอดชีวิตด้านเนื้อหามีความ ต้องการในระดับมากในความรู้เรื่องโรคเบาหวาน การดูแลตนเองในกรณีมีภาวะแทรกซ้อนสิทธิประโยชน์ด้านสุข ภาวะของผู้สูงอายุ การรับประทานอาหารและโรคความดันโลหิตสูง และความรู้เกี่ยวกับการรับประทานยา ด้าน วิธีการรับความรู้ พบว่า ต้องการให้บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข บุคคลในครอบครัวหรือผู้ที่ให้การดูแล อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเป็นผู้ให้ความรู้ในระดับมาก ส่วนด้านวิธีการให้ความรู้ ต้องการให้จัดกลุ่ม พูดคุยในกลุ่มเพื่อนที่ีเป็นโรคเรื้อรัง ฝึกปฏิบัติในการปรับเปลี่ียนพฤติกรรมสุขภาพ ฝึกอบรมหรือประชุม ให้ความรู้ ทางหอกระจายข่าว ให้ความรู้ทางรายการวิทยุ และ ให้ความรู้ทางรายการโทรทัศน์ ในระดับมาก ด้านสถานที่จัด กิจกรรมให้ความรู้ ต้องการจัดที่ศาลากลางบ้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล และวัด ตามลำดับ ด้านระยะเวลา ต้องการจัดในวันจันทร์-วันศุกร์ ช่วงเช้า เวลา 09.00-12.00 น. (2) รูปแบบการจัดการศึกษาตลอดชีวิตผู้สูงอายุโรค เรื้อรังมี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ (ก) ด้านสภาพปัจจุบัน ปัญหาสุขภาวะและความจำเป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิต (ข) ด้านวัตถุประสงค์ (ค) ด้านเนื้อหาสาระ (ง) ด้านวิธีการจัดการศึกษาตลอดชีวิต และ (จ) ด้านการวัดและประเมินผลการ จัดการศึกษาตลอดชีวิต และ (3) ผลการประเมินรูปแบบการจัดการศึกษาตลอดชีวิตโดยผู้เชี่ยวชาญด้านความเหมาะสม และความเป็นไปได้ พบว่า ในการนำไปปฏิบัติในภาพรวมรูปแบบมีความเหมาะสม และความเป็นได้อยู่ในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.269en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการศึกษานอกระบบ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการศึกษาต่อเนื่อง--ไทย--การจัดการth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ--สุขภาพและอนามัย--ไทยth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ--โรค--การดูแลth_TH
dc.titleรูปแบบการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะของผู้สูงอายุโรคเรื้อรังในอำเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิth_TH
dc.title.alternativeModel of lifelong education for enhancing well-being of elderly people with chronic diseases in Phu Khieo District, Chaiyaphum Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the present health conditions, well-being problems, the needs and guidelines for provision of lifelong education for enhancing well-being of elderly people with chronic diseases as perceived by the elderly people, caregivers in their families, and medical personnel; (2) to synthesize a model of lifelong education for enhancing well-being of elderly people with chronic diseases; and (3) to evaluate and present the model of lifelong education for enhancing well-being of elderly people with chronic diseases. The research sample comprised three groups. The first group consisted of 330 elderly people with chronic diseases (diabetes and hypertension) in Chaiyaphum province, obtained by stratified random sampling. The second group consisted of 330 caregivers in the families of the elderly people. The third group consisted of 30 purposively selected medical personnel, and 15 experts on model evaluation. The employed research instruments were (1) three sets of questionnaire for the three sample groups with reliability coefficients of 0.84, 0.87, and 0.82, respectively, and (2) a model evaluation form. Data were analyzed using the percentage, mean, and standard deviation. Research findings showed that (1) currently, the elderly people with chronic diseases exercised their overall well-being enhancing behavior on a regular basis; their problems concerning overall physical health and knowledge were at the moderate level; their problems concerning overall mental health and environment were at the low level; as for the needs for lifelong education, their needs for the content aspect were at the high level on the topics of diabetes, self-care in case of complication of diseases, health and well-being benefits for the elderly, food consumption and hypertension, and knowledge on taking medicine; regarding their needs for knowledge receiving methods, it was found that their needs for receiving knowledge from medical personnel, caregivers in the family, and health volunteers in the village were at the high level; as for methods for imparting knowledge, they had the high level needs for the following: the organization of group conversation involving peers with chronic diseases, the practice on modification of health behaviors, the training or meeting, the provision of knowledge via community broadcasting station, and the provision of knowledge via radio and television programs; as for the place for organizing knowledge dissemination activities, they would like for the activities to be organized at community pavilion, district health promoting hospital, and temple, respectively; as for the activities organization time, they would like for the activities to take place on the morning session of Monday – Friday, from 09.00 – 12.00 a.m.; (2) the model of lifelong education for enhancing well-being of elderly people with chronic diseases comprised five components: (a) the current health condition, well-being problems, and needs for lifelong education; (b) the objectives; (c) the contents; (d) the method of lifelong education; and (e) the measurement and evaluation of lifelong education outcomes; and (3) regarding evaluation results of the model of lifelong education as evaluated by the experts, it was found that the model as a whole was highly appropriate and highly feasible for implementation.en_US
dc.contributor.coadvisorสารีพันธุ์ ศุภวรรณth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
145934.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.45 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons